ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKeerati Sanya ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
การกำหนดปัญหาใน การวิจัย 1. แหล่งที่มาของปัญหา วิจัย 2. การวิเคราะห์ปัญหาวิจัย 3. การประเมินหัวข้อ ปัญหาที่จะทำวิจัย
2
แหล่งที่มาของปัญหา วิจัย 1. ทฤษฎีต่างๆ 2. ประสบการณ์ของผู้วิจัย 3. การอ่านหนังสือหรือ วารสารเกี่ยวกับการวิจัย 4. ข้อเสนอแนะของ ผลงานวิจัยที่ได้ทำมาแล้ว 5. บทคัดย่องานวิจัย 6. ปัญหาที่ได้จากผู้อื่น
3
การวิเคราะห์ปัญหา วิจัย 1. ความจริงเกี่ยวกับปัญหา วิจัย 2. คำอธิบายเกี่ยวกับสาเหตุ ปัญหาวิจัย 3. ความสัมพันธ์ระหว่าง ความจริงกับคำอธิบาย
4
การประเมินหัวข้อ ปัญหาที่จะทำวิจัย 1. การพิจารณา ความสำคัญของหัวเรื่อง ที่ควรทำวิจัย 2. สิ่งที่ควรพิจารณาใน ด้านส่วนตัว 3. การพิจารณาทางด้าน สังคม
5
การเขียนรายละเอียด เกี่ยวกับปัญหาวิจัย 1. การตั้งชื่อหัวข้อเรื่องวิจัย 2. การเขียนความเป็นมาและ ความสำคัญของปัญหา วิจัย 3. การกำหนดวัตถุประสงค์ การวิจัย 4. การเขียนสมมติฐานการ วิจัย
6
สมมติฐานการวิจัย 1. ลักษณะของสมมติฐาน ที่ดี 2. การทดสอบสมมติฐาน 3. ประโยชน์ของ สมมติฐานที่มีต่อการวิจัย
7
ลักษณะของสมมติฐาน ที่ดี 1. มีความชัดเจนและ เฉพาะเจาะจง 2. เป็นสิงที่ทดสอบได้ 3. สอดคล้องกับความเป็น จริงในปัจจุบัน 4. เป็นคำง่ายๆ มี ความหมายชัดเจน 5. รับกับวัตถุประสงค์การ วิจัยแต่ละข้อ
8
การทดสอบสมมติฐาน 1. การพิจารณาผลที่จะ เกิดขึ้นตามมาถ้า สมมติฐานเป็นจริง 2. การเลือกวิธีทดสอบ 3. การยืนยันสมมติฐาน
9
ประโยชน์ของสมมติฐาน ที่มีต่อการวิจัย 1. ช่วยจำกัดขอบเขตและทำให้ ปัญหาวิจัยชัดเจนขึ้น 2. ช่วยเลือกข้อมูลที่จะนำมา ศึกษาได้ถูกต้องตรงประเด็น 3. ช่วยในการพิจารณาว่าตัวแปร อะไรบ้างที่จะนำมาศึกษา 4. ช่วยชี้แนวทางการกำหนดแบบ วิจัยที่เหมาะสม 5. ช่วยกำหนดขอบเขตในการ ตีความหมายของผลการวิจัย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.