ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSaengdao Luang ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
ชื่อเรื่องวิจัย การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด (Mind Mapping) ของนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ 2/3 วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์ ผู้วิจัย น.ส สุนิสา แก้วมา วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์
2
1. ปัญหาของการวิจัย จากประสบการณ์การสอนที่ผ่านมา พบว่านักเรียน นักศึกษาส่วนใหญ่ขาดความรู้ การคิดวิเคราะห์ ซึ่งเป็นผลให้นักเรียน นักศึกษา มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ
3
2. วัตถุประสงค์การวิจัย
เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการจำต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด (Mind Mapping)
4
3. กรอบแนวคิดในการวิจัย
ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม (Independent Variables) (Dependent Variables) การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด (Mind Mapping) 1.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่อวิชาฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น 2.ความคงทนในการจำ
5
4. วิธีการดำเนินงานวิจัย
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากร คือ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ 2/3 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์ จำนวน 38 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ 2/3 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์ จำนวน 19 คน ซึ่งได้จากการสุ่มอย่างง่ายมาเป็นกลุ่มทดลอง
6
4. วิธีการดำเนินงานวิจัย (ต่อ)
2. เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล 2.1 แผนการจัดการเรียนรู้ 2.2 แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด 2.3 แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.4 แบบสังเกตการทํางาน
7
5. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ตารางที่ 5.1 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างการเรียนแบบปกติและการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด การทดสอบ N คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน คะแนนเฉลี่ยหลังเรียน S.D t Sig กลุ่มควบคุม 19 10.11 17.47 3.89 -3.050 .004 กลุ่มทดลอง 9.95 20.68 2.43 จากตารางที่ 5.1 พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่อวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ของนักเรียนที่เรียนโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด สูงกว่านักเรียนที่เรียนโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
8
5. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ)
ตารางที่ 5.2 ผลการเปรียบเทียบความคงทนในการจำของผู้เรียนหลังเรียนจบหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 มาแล้ว 2 สัปดาห์ การทดสอบ N คะแนนเฉลี่ย หลังเรียน คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนมาแล้ว 2 สัปดาห์ S.D t Sig กลุ่มควบคุม 19 17.47 14.37 3.35 -3.41 .002 กลุ่มทดลอง 20.68 2.18 จากตาราง 5.2 พบว่าผลการเปรียบเทียบความคงทนในการจำของผู้เรียนหลังเรียนจบหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 มาแล้ว 2 สัปดาห์ ต่อวิชาฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้น ของนักเรียนที่เรียนโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด สูงกว่านักเรียนที่เรียนโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
9
6. สรุปผลการวิจัย (1) พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยใช้แบบฝึกหัดแผนที่ความคิด เมื่อพิจารณาจากการทำแบบทดสอบหลังเรียนปรากฏว่า ค่าของคะแนนเฉลี่ยสูงกว่านักเรียนที่เรียนโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) ผลสัมฤทธิ์จากการทำแบบทดสอบหลังจากที่นักเรียน เรียนวิชาฮาร์ดแวร์และยูทิลิตี้เบื้องต้นผ่านมาแล้ว 2 สัปดาห์ โดยใช้เทคนิคการสอนด้วยแบบฝึกหัดแผนที่ความคิด พบว่านักเรียนมีความคงทนในการจำสูงกว่านักเรียนที่เรียนโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
10
จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ
7. ผลงานนักเรียน จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.