งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการวางแผนทางการเงิน
ปัจจัยภายนอกธุรกิจ ได้แก่ ภาวะเศรษฐกิจ สังคม การเมือง คู่แข่งขัน อัตราดอกเบี้ย ปัจจัยภายในธุรกิจ เช่น ความต้องการสินค้าและบริการของตลาด ต้นทุน แหล่งเงินทุน อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

3 ประโยชน์จากการวางแผนและควบคุม การคาดการณ์เหตุการณ์ในอนาคต
เกิดการประสานงานที่ดีต่อกันภายในธุรกิจ การควบคุมการทำงานให้บรรลุเป้าหมายทำได้ง่ายขึ้น อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

4 ระยะเวลาในการวางแผนทางการเงิน
การวางแผนทางการเงินระยะสั้น คือการวางแผนการดำเนินงานภายในช่วงเวลาไม่เกิน 1 ปี เช่น รายเดือน รายไตรมาส การวางแผนทางการเงินระยะยาวคือการวางแผนการดำเนินงานภายในช่วงเวลาเกิน 1 ปีขึ้นไป เช่น แผนงานช่วง 3 ปี หรือ 5 ปี อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

5 งบประมาณเงินสด (Cash Budget)
คืองบที่จัดทำขึ้นจากการพยากรณ์การรับเงินและจ่ายเงินในอนาคตในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง อาจเป็นช่วง 3เดือน ช่วง 6 เดือน หรือ 1ปี โดยการพยากรณ์เงินสดที่คาดว่าจะได้รับและต้องจ่ายในแต่ละงวดเวลา อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

6 ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณเงินสด
การจัดทำงบประมาณเงินสดรับ (Cash Receipt Budget) การจัดทำงบประมาณเงินสดจ่า (Cash Disbursement Budget) การจัดทำงบประมาณเงินสดสุทธิ (Net Cash flow) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

7 การจัดทำงบประมาณเงินสดรับ เงินสดรับของกิจการ ซึ่งได้มาจาก 2 ทาง
เงินสดรับของกิจการ ซึ่งได้มาจาก 2 ทาง เงินสดรับจากการขายสินค้า ซึ่งจะได้รับจากการขายเป็นเงินสดในแต่ละงวด และเงินสดรับจากการชำระหนี้ของลูกหนี้ เงินสดรับจากแหล่งอื่นๆ เช่น รายได้จากการขายสินทรัพย์ถาวร เป็นต้น อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

8 การจัดทำงบประมาณเงินสดจ่าย เงินสดจ่ายของกิจการ แยกเป็น 2 ทาง
เงินสดจ่ายของกิจการ แยกเป็น 2 ทาง เงินสดจ่ายจากการซื้อสินค้าหรือวัตถุดิบ ซึ่งจะจ่ายเพื่อซื้อสินค้าหรือวัตถุดิบเป็นเงินสดในแต่ละงวด และเงินสดจ่ายเพื่อการชำระหนี้ให้เจ้าหนี้การค้า เงินสดจ่ายอื่นๆ เช่น ค่าใช้จ่ายในการผลิต ค่าแรงงาน ค่าเช่า เป็นต้น อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

9 การจัดทำงบประมาณเงินสดสุทธิ
เป็นการนำเอางบประมาณเงินสดรับและเงินสดจ่ายมาเปรียบเทียบกัน เพื่อหายอดเงินสุทธิ ว่ามีเงินสดเกินหรือขาดเป็นจำนวนเท่าใด ซึ่งบางกิจการอาจจะมีการกำหนดจำนวนเงินสดขั้นต่ำที่ต้องมีไว้ อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google