ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
9
อัตราตายโรคเบาหวาน (แสนประชากร)
จำนวน (คน). 7000 6500 6102 7193 6909 7008 7187 6552 6389 7132 7222
10
อัตราตายโรคความดันโลหิตสูง (แสนประชากร)
จำนวน (คน). 3395 2801 3137 2324 2277 2145 2066 2247 2086 2273 3430 3141
11
อัตราตายโรคหัวใจขาดเลือด (แสนประชากร)
จำนวน (คน). 6076 7333 9902 8999 9630 10158 11053 11331 11064 11006 12466 13091
12
อัตราตายโรคหลอดเลือดสมองใหญ่(แสนประชากร)
จำนวน (คน). 9233 11297 16084 16782 13478 11198 25990 26266 26706 35080 38566 40736
13
อัตราป่วยโรคเบาหวาน (แสนประชากร)
จำนวน (คน). 1.511 1.871 2.131 2.471 2.773 3.341 3.722 3.885 5.041 5.496 4.964 6.107
14
อัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูง (แสนประชากร)
จำนวน (แสนคน). 1.538 1.871 2.167 2.656 3.076 3.755 4.453 4.948 6.917 7.543 6.943 9.005
15
อัตราป่วยโรคหัวใจขาดเลือด (แสนประชากร)
จำนวน (แสนคน). 0.627 0.773 0.915 1.034 1.123 1.325 1.495 1.591 1.977 2.180 1.958 2.376
16
อัตราป่วยโรคหลอดเลือดสมองใหญ่(แสนประชากร)
จำนวน (แสนคน). 0.627 0.747 0.837 0.951 0.988 1.193 1.175 1.245 1.554 1.731 1.621 2.031
28
การบริหารอัตรากำลังคนด้านสาธารณสุข และค่าตอบแทน
นพ.ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ (นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ) เขตพื้นที่เครือข่ายบริการที่ 2
29
นโยบายการบริหารงาน กระทรวงสาธารณสุข
โดย นพ.ประดิษฐ สินธวณรงค์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
30
วิสัยทัศน์ ภายในทศวรรษต่อไป
คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อม อย่างยั่งยืน
31
เป้าและเป้าหมาย มาตรการด้านกำลังคนแสดงถึงการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้กำลังคนอย่างเหมาะสมและถูกต้องและแสดงถึงความรับผิดชอบของหน่วยงาน รูปแบบของสภาพการจ้างงานที่นอกเหนือจากรูปแบบข้าราชการ เช่น การเป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ที่สอดคล้องต่อภาระงานโดยเป็นรูปแบบที่สามารถจูงใจ และสร้างความมั่นใจให้ผู้ทำงานตลอดจนเกิดแรงจูงใจในการทำงาน ระบบการทำงานและติดต่อสื่อสารระหว่างประชาชนในทุกส่วนที่สามารถอำนวยประโยชน์ให้ประชาชนจนได้รับความพึงพอใจ การสนองต่อนโยบายของรัฐบาลในโครงการต่างๆที่เป็นรูปธรรมชัดเจนและทันเวลา
32
กลยุทธ์ในการทำงาน การปรับโครงสร้างทางด้านการเงินการคลังเพื่อสร้างดุลภาพของรายได้และรายจ่ายของการเงินการคลังระยะยาว ทั้งระดับมหภาค ภูมิภาค และระดับหน่วยบริการที่เหมาะสมกับหน่วยบริการแต่ละแห่ง รวมทั้งสามารถสะท้อนให้เห็นถึงความสามารถและความรับผิดชอบของหน่วยงานที่ชัดเจน พัฒนากำลังคนภาครัฐด้านสาธารณสุขให้มีสภาพงาน การจ้างงานที่ดีขึ้น ความรับผิดชอบในงานที่ชัดเจน ได้รับความดูแลจากผู้บังคับบัญชา จนทำให้สามารถจูงใจให้เกิดการทำงานที่มีประสิทธิภาพ คุณภาพและประสิทธิผล เพื่อสร้างความมั่นคง และขวัญกำลังใจมีความสุขในการทำงานอีกทั้งให้เกิดความรู้ความสามารถในการทำงานเพิ่มขึ้นโดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพิ่มขึ้นมาเสริม เสริมสร้างบทบาทของประเทศไทยในเวทีสุขภาพโลก ทั้งระดับภูมิภาคเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Community: AEC, APSC, ASCC)และระดับนานาชาติเพื่อให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีและประโยชน์ร่วมกันทั้งระดับทวิภาคี ภูมิภาค และระดับโลก
33
ภาพรวมแผนกำลังคนกระทรวงสาธารณสุข ๒๕๕๕ - ๒๕๖๐
ภาพรวมแผนกำลังคนกระทรวงสาธารณสุข ๒๕๕๕ - ๒๕๖๐ ทิศทางนโยบาย กำลังคนปัจจุบัน กำลังคนในปี ๒๕๖๐ กำลังคนที่ขาด ยุทธศาสตร์กำลังคน แผนบริหารจัดการ ตัวชี้วัด ติดตาม ประเมินผล
34
กำลังคนในปี ๒๕๖๐ Avg ratio for MOPH เกณฑ์ วิธีการ อัตรากำลัง
1. มาตรฐานประชากรสำหรับบริการพื้นฐาน 2. ภาระงาน 3. มาตรฐานวิชาชีพ 4. Service plan 5. แนวโน้มสุขภาพ ภาระโรค วิธีการ 1. Delphi 2. Trend analysis 3. Health demand 4. Service target อัตรากำลัง 1. สายงาน 2. โครงสร้าง 3. ภารกิจ Avg ratio for MOPH
35
กำลังคนที่ขาด สายงาน ภาระกิจ โครงสร้าง พื้นที่ แพทย์ พยาบาล อื่นๆ
รักษา ฟื้นฟู ส่งเสริม ป้องกันโรค โครงสร้าง ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค รพศ รพช รพ สต พื้นที่ เมือง ชนบท ขาดแคลน ไม่มีใครอยากอยู่
36
ยุทธศาสตร์กำลังคน ๒๕๕๕ - ๒๕๕๘ แก้ปัญหาขาดแคลนกำลังคนตามสาขา ภารกิจ ที่เร่งด่วน รักษากำลังคนที่มีอยู่ ปรับกระบวนทัศน์ สร้างความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก เรื่องกำลังคน ปรับประสิทธิภาพระบบข้อมูล สารสนเทศ ด้านกำลังคน
37
แผนบริหารจัดการ กำลังคน สาธารณสุข ๒๕๕๕ - ๒๕๕๘
แผนการกระจายบุคลากร ลดส่วนเกิน พื้นที่ขาดแคลน ห่างไกล ภาระงานเกิน แผนการบรรจุ ข้าราชการต่อลูกจ้างชั่วคราว > 80:20 = 90:10 อัตราว่าง เกษียณ แผนการรักษาบุคลากร ค่าตอบแทน ความมั่นคง การได้เป็นข้าราชการ ความก้าวหน้าในอาชีพที่ชัดเจน
38
แนวทางการกระจายกำลังคน สธ
อัตรากำลังทั้งหมด อัตรากำลัง 12 พวงบริการ กระจายสู่สถานบริการตามเกณฑ์ ประชากร ภาระงาน Service plan อื่นๆ
39
ตัวชี้วัด กำกับ ติดตาม ประเมินผล
Increase facility Personal Infrastructrue Information system Service & Product delivery ประชาชน เข้าถึงบริการ บริการ และ ผลิตภัณฑ์คุณภาพ แข็งแรง ตัวชี้วัด กำกับ ติดตาม ประเมินผล
40
อัตรากำลังกระทรวงสาธารณสุข
(1 มกราคม 2555) 1. ข้าราชการ 183,624 อัตรา 2. พนักงานราชการ 6,026 อัตรา 3. ลูกจ้างประจำ 35,027 อัตรา 4. ลูกจ้างชั่วคราว 4.1 จ้างด้วยเงินงบประมาณ 77 อัตรา 4.2 จ้างด้วยเงินนอกงบประมาณ (บำรุง) 138,106 อัตรา รวม 362,860 อัตรา 18/12/55
41
ข้อเสนอแนวทางการแก้ปัญหาลูกจ้างชั่วคราว โดยกระทรวงสาธารณสุข
ความต้องการเพิ่มใหม่ในช่วง 3 ปี (ปีงบประมาณ 2556 – 2558) จาก จำนวนลูกจ้างในระบบ 30,188 อัตรา ขอตำแหน่งข้าราชการ 75% 22,641 อัตรา ขอเป็นพนักงาน กระทรวงสาธารณสุข 25% 7,547 อัตรา 18/12/55
42
มาตรการเร่งด่วน (ระยะสั้น)
1. จัดสรรอัตราข้าราชการใหม่ให้สำนักงานปลัดกระทรวง ปีงบประมาณ 2556 – 2558 รวม 30,188 อัตรา เฉลี่ยปีละ 7,547 อัตรา 2. ปีงบประมาณ 2556 ได้รับการจัดสรร 2.1 อัตราที่จะบรรจุแพทย์/ทันตแพทย์/เภสัชกร 2,947 อัตรา 2.2 อัตราใหม่สำหรับข้าราชการ ,547 อัตรา รวม 10,494 อัตรา 18/12/55
43
มาตรการเร่งด่วน (ระยะสั้น)
3. ปีงบประมาณ 2557 – 2558 จะพิจารณาจัดสรรอัตราเพิ่มให้ปีละ 7,547 อัตรา โดยแยกนักเรียนทุน 3 สายงาน (แพทย์/ทันตแพทย์/เภสัช) ออกต่างหาก 18/12/55
44
เงื่อนไข การจัดสรรตำแหน่งข้าราชการให้พิจารณาตามภาระงานและความขาดแคลนกำลังคนในเครือข่ายบริการ 12 เครือข่าย โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ ก.พ. กำหนด 18/12/55
45
เกณฑ์การจัดสรร 1. รพ.สต. 2. รพ.ทั่วไปในเขตทุรกันดาร
3. รพ.ชุมชนเปิดใหม่ 4. รพ.ที่ขาดสภาพคล่อง 18/12/55
46
ทั้งนี้จะคำนึงถึงเรื่องอายุงานและ การประเมินผลงานรายบุคคลด้วย
เกณฑ์การจัดสรร 5. รพ.ทั่วไปที่มีภาระงานหนัก 6. หน่วยงานที่มีภารกิจพิเศษ เช่น การบริการเกี่ยวกับสุขภาพเด็ก การเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบต่างๆ รวมถึงเรื่องยาเสพติด ทั้งนี้จะคำนึงถึงเรื่องอายุงานและ การประเมินผลงานรายบุคคลด้วย 18/12/55
47
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.