ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ชุดทดสอบสารพิษเตโตรโดท็อกซิน (Tetrodotoxin)
มาตรการการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาปลาปักเป้า ชุดทดสอบสารพิษเตโตรโดท็อกซิน (Tetrodotoxin) อารี ทัตติยพงศ์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงแรม มิราเคิล แกรนด์ กันยายน 2552
2
เตโตรโดท็อกซิน (Tetrodotoxin: TTX)
*เป็นสารพิษที่พบ ในปลาปักเป้า (puffer fish) แมงดาถ้วย *น้ำหนักโมเลกุลน้อย ดาลตัน *Heat stable ทนความร้อนได้ถึง 170oC *มีฤทธิ์ต่อระบบประสาท โดย block sodium channel อาการชาที่ริมปาก มือ เท้า กล้ามเนื้ออ่อนแรงเป็นอัมพาต หายใจขัด อาการพิษเกิดภายใน นาที สูตรโครงสร้าง C11H17N3O8
3
ประเทศไทย: กำหนดให้ TTX ปนเปื้อนได้ไม่เกิน 10 MU (2.2 ppm)
ญี่ปุ่น: เป็นประเทศบริโภค ปลาปักเป้ามากที่สุด ได้ศึกษาความเป็นพิษของ TTX พบว่าสารพิษ 10,000 MU (2 mg) เป็นอันตรายต่อชีวิตผู้บริโภค เกาหลี: กำหนดให้มีสารพิษปนเปื้อนในเนื้อปลาปักเป้าได้ 10 MU (1 MU: mouse unit หมายถึงปริมาณสารพิษน้อยที่สุดที่สามารถ ฆ่าหนูขาวตัวผู้หนัก 20 กรัม ได้ภายในเวลา 30 นาที มีค่าเท่ากับ ไมโครกรัม) ประเทศไทย: กำหนดให้ TTX ปนเปื้อนได้ไม่เกิน 10 MU (2.2 ppm)
4
วิธีวิเคราะห์สารพิษเตโตรโดท็อกซิน
ศึกษาความเป็นพิษ : Mouse bioassay วิเคราะห์ปริมาณ : HPLC, LC-MS/MS (วิธีมาตรฐาน) วิธีตรวจกรอง ชุดทดสอบ
5
หลักการ Immunochromatography
6
ส่วนประกอบของชุดทดสอบ
backing Absorbent pad (Wick) Control line Test line Conjugated pad Sample pad
7
ปริมาณ TTX ต่ำสุดที่ detect ได้ = 2 ppm
LIMIT OF DETECTION ppm ปริมาณ TTX ต่ำสุดที่ detect ได้ = 2 ppm
8
วิเคราะห์ความถูกต้องของชุดทดสอบ
ทดสอบกับ known sample 99 ตัวอย่าง (ประเมินในห้องปฏิบัติการ) HPLC + - 58 (TP) 6 (FP) 64 4 (FN) 31(TN) 35 62 37 99 TTX-IC ความไว /62 = 93.5% ความจำเพาะ 31/37= 84.0%
9
วิเคราะห์ความถูกต้องของชุดทดสอบ (ต่อ)
Spike std TTX ลงในสารสกัดแล้ววิเคราะห์ด้วยชุดทดสอบ TTX (ppm) ผลการทดสอบ TTX (ppm) ผลการทดสอบ
10
ทดสอบ cross-reaction กับ sasitoxin
ตัวอย่าง HPLC (Sasitoxin) TTX-IC 1. น้ำแกง 2. น้ำแกง 3. Urine 4. Urine 5. Std TTX 2 ppm nd + 6. Std Sasitoxin
11
ทดสอบ cross-reaction สารสกัดจากปลาอื่นๆ 31 ตัวอย่าง ผลลบทุกตัวอย่าง
ตัวอย่างจาก สคอ. กรมวิทย์
12
ศึกษาความไวและความจำเพาะ
ตัวอย่าง จำนวน TTX-IC ผลบวก(%) ผลลบ (%) L. lunaris 20 2 (10) 18 (90) L. spadeceous 93 8 (8.6) 85(91.4) ปลาปักเป้าพิษ 2 1(ไข่) 1 (เนื้อ) รวม 113 10(8.85) 103(91.15) ประเมินที่สมุทรสาคร โดย ศวก. สมุทรสงคราม
13
ตัวอย่าง TTX-IC LC-MS/MS สรุปผล ตรง ผลลบ < 2ppm 1 - 2 3 4 5 6 7 8 9
0.76 ตรง 2 0.75 3 0.93 4 0.19 5 1.54 6 1.41 7 0.81 8 0.52 9 1.03 10 0.53 11 12 0.41 ผลลบ < 2ppm ยืนยันผลด้วย LC-MS/MS ที่ สคอ. กรมวิทย์ฯ
14
ตัวอย่าง TTX-IC LC-MS/MS สรุปผล ไม่ตรง ตรง ผลบวก >2ppm 1 + 2 3 4 5
1.39 ไม่ตรง 2 2.85 ตรง 3 1.52 4 3.55 5 4.52 6 5.67 7 6.93 8 4.90 9 4.88 10 1.26 11 216.83 ผลบวก >2ppm ยืนยันผลด้วย LC-MS/MS ที่ สคอ. กรมวิทย์ฯ
15
ศึกษาความไวและความจำเพาะ
LC-MS/MS + - 8 (TP) 3 (FP) 11 0 (FN) 12 (TN) 12 8 15 23 TTX-IC ความไว /8 = 100% ความจำเพาะ 12/15= 80.0% ไม่มีผลลบปลอม (ประเมินในภาคสนามที่จังหวัดสมุทรสาคร)
16
1. การเตรียมตัวอย่าง บดตัวอย่าง ชั่ง
เติม acetic acid 4เท่าของตัวอย่าง(v:w) ต้มในน้ำเดือด 10 นาที
17
2. วิธีทดสอบ 3. อ่านผล ผลบวก: TTX> 2 ppm ผลลบ: TTX< 2 ppm
ดูดส่วนใสหยดบนชุดทดสอบ 3 หยด ตั้งไว้ 5 นาที 3. อ่านผล ผลบวก: TTX> 2 ppm ผลลบ: TTX< 2 ppm
19
สรุป ชื่อชุดทดสอบ TTX-IC
ตรวจวิเคราะห์สารพิษเตโตรโดท็อกซินในปลาปักเป้าน้ำเค็ม หลักการ Immunochromatographic assay ไม่มีปฏิกิริยาข้ามกันกับ Saxitoxin ที่พบในปลาปักเป้าน้ำจืด LOD 2 ppm. Cut-off value 2 ppm. ความไว 100% ความจำเพาะ 80%
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.