ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยToptim Yoovidhya ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาท รักษาทุกโรค) พ.ศ. 2546 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม 2546
2
วัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
การได้รับบริการการประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปัญหาในการใช้บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า ความพึงพอใจต่อการบริการ การกำหนดสถานพยาบาล แนวทางการปรับปรุงโครงการฯ และข้อเสนอแนะ เพื่อให้รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปใช้เป็นแนวทางในการติดตาม ประเมินผล และปรับปรุงโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาท รักษาทุกโรค)
3
٭ คุ้มรวม ประชาชนที่มีอายุ 18 ปี ขึ้นไป ทั่วประเทศ
ระเบียบวิธีการสำรวจ ٭ คุ้มรวม ประชาชนที่มีอายุ 18 ปี ขึ้นไป ทั่วประเทศ ٭ แผนการสุ่มตัวอย่าง Stratified Three - Stage Sampling มีประชาชนที่ตกเป็นตัวอย่างจำนวนทั้งสิ้น 5,800 คน
4
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
ใช้วิธีการสัมภาษณ์ โดยเจ้าหน้าที่ของสำนักงานสถิติแห่งชาติไปทำการสัมภาษณ์สมาชิกในครัวเรือนตัวอย่างที่มีอายุ 18 ปี ขึ้นไป ครัวเรือนละ 1 คน ปฏิบัติงานเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่าง วันที่ กรกฏาคม 2546
5
การมีสิทธิเข้าร่วมโครงการ ประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาท รักษาทุกโรค)
การมีสิทธิเข้าร่วมโครงการ ประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาท รักษาทุกโรค) ความต้องการเข้าร่วมโครงการฯ มีสิทธิ % ไม่มีสิทธิ 23.2 % 8.2% ต้องการ 15.0% ไม่ต้องการ ถ้าจะให้ใช้บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า แทนสวัสดิการที่มีอยู่ ไม่ทราบว่ามี/ไม่มีสิทธิ % เห็นด้วย 6.9% ไม่เห็นด้วย 16.3%
6
สถานพยาบาล ที่ระบุในบัตรทอง สถานพยาบาล ที่ไม่ได้ระบุในบัตรทอง
สถานพยาบาลที่ไปใช้บริการเมื่อเจ็บป่วย ของประชาชนที่มีสิทธิเข้าร่วมโครงการฯ 1/ ร้อยละ 100 81.9 80 60 40 27.5 20 10.1 สถานพยาบาล สถานพยาบาล ที่ระบุในบัตรทอง สถานพยาบาล ที่ไม่ได้ระบุในบัตรทอง อื่นๆ หมายเหตุ 1/ ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ
7
การเคยไปใช้บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาท รักษาทุกโรค)
การเคยไปใช้บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาท รักษาทุกโรค) ร้อยละ 100 14.0 25.2 25.1 54.4 22.8 30.4 80 ไม่เคย 60 เคย 40 74.9 45.6 77.2 20 69.6 86.0 74.8 ภาค ทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ต.อ.น. ใต้
8
การประสบปัญหา สถานพยาบาลไม่ส่งคนไข้ต่อ/ปฏิเสธการรับคนไข้
การประสบปัญหา สถานพยาบาลไม่ส่งคนไข้ต่อ/ปฏิเสธการรับคนไข้ ร้อยละ 100 95.3 94.0 80 ประสบปัญหา 60 ไม่ประสบปัญหา 40 20 6.0 4.7 ปัญหา คนไข้มีอาการหนัก สถานพยาบาลไม่ส่งต่อ สถานพยาบาลลำดับต่อไปปฏิเสธการรับคนไข้
9
ก่อนมี การประกันสุขภาพ หลังมี การประกันสุขภาพ
ปัญหาเรื่องค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของครัวเรือนก่อนและหลังมีการประกันสุขภาพถ้วนหน้า ร้อยละ 100 95.1 80 มีปัญหา 65.9 60 ไม่มีปัญหา 40 34.1 20 4.9 การประกันสุขภาพ ก่อนมี การประกันสุขภาพ หลังมี การประกันสุขภาพ
10
การใช้บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้าแล้วต้องจ่ายเงิน ค่ารักษาพยาบาลเพิ่มจาก 30 บาท
ภาค 13.0 87.0 ใต้ 8.4 91.6 จ่ายเพิ่ม (เพื่อเป็นค่ายา ค่ารักษาพยาบาล ค่าบริจาค เป็นต้น) ต.อ.น. 9.3 90.7 เหนือ กลาง 12.3 87.7 ไม่ได้จ่ายเพิ่ม กทม. 14.5 85.5 10.4 89.6 ทั่วประเทศ ร้อยละ 20 40 60 80 100
11
ความพึงพอใจของประชาชนใน การใช้บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ความพึงพอใจของประชาชนใน การใช้บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า ร้อยละ 2.8 4.9 3.3 2.2 1.9 4.2 100 80 ไม่พอใจ 60 97.2 95.1 96.7 97.8 98.1 95.8 พอใจ 40 20 ภาค ทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ต.อ.น. ใต้
12
การดูแลเอาใจใส่ของเจ้าหน้าที่ การตรวจรักษาของแพทย์/พยาบาล
ความพึงพอใจต่อการบริการของสถานพยาบาล ในเรื่องต่างๆ เมื่อใช้บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า ร้อยละ 100 80 พึงพอใจ ไม่พึงพอใจ 60 40 20 เรื่อง การดูแลเอาใจใส่ของเจ้าหน้าที่ การตรวจรักษาของแพทย์/พยาบาล อุปกรณ์ทางการแพทย์ คุณภาพยา
13
คุณภาพชีวิตทางด้านสุขภาพของประชาชน เมื่อเทียบกับก่อนมีโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ร้อยละ 1.0 2.9 4.0 3.8 1.9 100 1.8 2.9 0.4 0.3 1.6 8.3 5.4 33.0 ไม่แสดง ความคิดเห็น 80 37.4 36.8 35.9 42.4 52.6 แย่ลง 60 เหมือนเดิม 40 ดีขึ้น 57.9 53.3 57.8 59.3 65.6 33.7 20 ภาค ทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ต.อ.น. ใต้
14
ความเชื่อมั่นในมาตรฐานการรักษาพยาบาลที่ได้รับจากการใช้บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้าเท่าเทียมกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาลอื่นๆ ทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ต.อ.น. ใต้ ภาค ร้อยละ 100 37.3 51.0 37.1 35.6 31.0 52.9 80 60 ไม่เชื่อมั่น เชื่อมั่น 40 62.7 49.0 62.9 64.4 69.0 47.1 20
15
ความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้ผู้มีบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า ใช้บริการได้เฉพาะสถานพยาบาลที่ระบุในบัตรเท่านั้น ร้อยละ 100 80 50.5 63.7 52.5 46.8 47.2 46.9 ไม่เห็นด้วย 60 เห็นด้วย 40 53.1 49.5 47.5 20 36.3 53.2 52.8 ภาค ทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ต.อ.น. ใต้
16
การยกเว้นให้แรงงานย้ายถิ่นสามารถเลือก สถานพยาบาลใกล้ที่ทำงาน/ที่อยู่อาศัย
ร้อยละ 100 3.5 2.1 5.3 7.1 8.1 1.6 3.9 9.4 3.9 3.1 4.4 6.7 80 ไม่แสดง ความคิดเห็น 60 ไม่ควร 90.8 89.8 87.5 94.9 94.0 83.9 ควร 40 20 ภาค ทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ต.อ.น. ใต้
17
ผลการดำเนินงานของสถานพยาบาลที่เข้าร่วม โครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ผลการดำเนินงานของสถานพยาบาลที่เข้าร่วม โครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า ร้อยละ 1.1 2.3 1.9 0.3 0.3 2.0 3.0 6.1 8.2 100 8.9 13.9 17.1 ไม่ได้ผล 80 ได้ผลม้อย 49.9 53.3 52.7 51.3 42.2 59.2 ได้ผลปานกลาง 60 ได้ผลมาก 40 20 40.8 27.3 36.5 42.3 54.5 24.9 ภาค ทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ต.อ.น. ใต้
18
ความต้องการให้รัฐดำเนินการ โครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าต่อไป
ความต้องการให้รัฐดำเนินการ โครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าต่อไป ร้อยละ 2.3 5.9 4.0 7.8 7.9 0.9 100 3.4 3.2 12.1 2.5 5.3 7.9 80 ไม่แสดง ความคิดเห็น 60 ไม่ต้องการ 90.9 86.9 89.6 92.6 96.8 80.0 ต้องการ 40 20 ภาค ทั่วประเทศ กทม. กลาง เหนือ ต.อ.น. ใต้
19
แนวทางการปรับปรุงโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า ( 30 บาท รักษาทุกโรค )
ร้อยละ รวม 100.0 ควรปรับปรุง 1/ 49.9 สถานพยาบาลควรมีมาตรฐานการรักษาพยาบาล และบริการมากกว่าเดิม 27.9 ควรเข้ารับการรักษาได้ทุกสถานพยาบาลทั่วประเทศ 17.9 ยาควรมีคุณภาพ 17.3 ควรเพิ่มบุคลากรและอุปกรณ์ทางการแพทย์ 2.5 อื่นๆ 1.2 ไม่แสดงความคิดเห็น 0.9 ไม่ควรปรับปรุง 50.1 หมายเหตุ : 1/ ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.