ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยOuti Nurminen ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชางานฝึกฝีมือ 1 นักศึกษาแผนกวิชาช่างยนต์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือแบบ Jigsaw ผู้วิจัย นายณัฐภูมิ จาระธรรม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
2
วัตถุประสงค์การวิจัย
เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชางานฝึกฝีมือ 1 นักศึกษาแผนกวิชาช่างยนต์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร โดยใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือ แบบ Jigsaw ตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
3
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษาแผนกวิชาช่างยนต์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1 จำนวน 2 ห้องเรียน ช่างยนต์ 101 และช่างยนต์ ที่กำลังเรียนรายวิชางานฝึกฝีมือ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษาแผนกวิชาช่างยนต์ ช่างยนต์ 102 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1 ที่กำลังเรียนรายวิชางานฝึกฝีมือ 1 จำนวน 28 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Random Sampling)
4
ผลวิเคราะห์และตารางที่สำคัญ
ทำการวิเคราะห์ข้อมูล ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชางานฝึกฝีมือ 1 นักศึกษาแผนกวิชาช่างยนต์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือแบบ Jigsaw ซึ่งศึกษาได้ดังต่อไปนี้ ตารางที่ 1 แสดงการวิเคราะห์ข้อมูลผลการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือแบบ Jigsaw คนที่ การประเมิน D D2 ก่อนเรียน หลังเรียน 1-28. 410 735 325 6177 N = 28 X = 22.77 S.D. = 3.64 X = 40.83 S.D. =3.75 ΣD = 325 ΣD2 = 6,177
5
จากตารางที่ 1 พบว่า คะแนนประเมินผลก่อนเรียนของนักศึกษา มีค่าเฉลี่ย 22
จากตารางที่ 1 พบว่า คะแนนประเมินผลก่อนเรียนของนักศึกษา มีค่าเฉลี่ย 22.77ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.64 ส่วนการประเมินผลหลังเรียนมีค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลรวมของความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนมีค่า ΣD 325 เมื่อเทียบกับเกณฑ์คุณภาพ แล้วพบว่ามีค่าอยู่ในระดับดี เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่าง ของคะแนนการประเมินก่อนเรียนและหลังเรียน ผู้วิจัยใช้ค่าสถิติ t - testสำหรับกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เป็นอิสระต่อกันผลการวิเคราะห์ดังกล่าวปรากฏในตารางที่ 2
6
ตารางที่ 2 แสดงผลสัมฤทธิ์รายวิชางานฝึกฝีมือ 1 ใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือแบบ Jigsaw
t 0.01= 2.92 จากตารางที่ 2 พบว่าผลสัมฤทธิ์รายวิชางานฝึกฝีมือ 1 เมื่อตรวจสอบความแตกต่างของคะแนนการประเมินผลก่อนเรียนและหลังเรียนด้วย t- test พบว่าค่า t 3.01 ซึ่งมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.01 จึงอาจกล่าวได้ว่า ผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ผลการวิเคราะห์การใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือแบบ Jigsaw ที่ครูใช้ตามแผนการสอนที่ 3 คือการสอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือแบบ Jigsaw)มีผลสัมฤทธิ์รายวิชางานฝึกฝีมือ 1 สูงขึ้นจริงตามสมมุติฐาน การประเมินผล N คะแนนเต็ม SD % of Mern t - test หลังเรียน 28 50 3.75 86.54 3.01
7
สรุปผลการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชางานฝึกฝีมือ 1 นักศึกษาแผนกวิชาช่างยนต์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือแบบ Jigsaw คะแนนประเมินผลก่อนเรียนของนักศึกษา มีค่าเฉลี่ย 22.77ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.64 ส่วนการประเมินผลหลังเรียนมีค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลรวมของความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนมีค่า ΣD 325 เมื่อเทียบกับเกณฑ์คุณภาพ แล้วพบว่ามีค่าอยู่ในระดับดี เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่าง ของคะแนนการประเมินก่อนเรียนและหลังเรียน ผู้วิจัยใช้ค่าสถิติ t - testสำหรับกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เป็นอิสระต่อกันผลการวิเคราะห์ดังกล่าว
8
ปรากฏในตารางที่ 2 พบว่าผลสัมฤทธิ์รายวิชางานฝึกฝีมือ 1 เมื่อตรวจสอบความแตกต่างของคะแนนการประเมินผลก่อนเรียนและหลังเรียนด้วย t- test พบว่าค่า t 3.01 ซึ่งมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.01 จึงอาจกล่าวได้ว่า ผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ผลการวิเคราะห์การใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือแบบ Jigsaw ที่ครูใช้ตามแผนการสอนที่ 3 คือการสอนโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือแบบ Jigsaw มีผลสัมฤทธิ์รายวิชางานฝึกฝีมือ 1 สูงขึ้นจริงตามสมมุติฐาน
10
ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะการวิจัยครั้งต่อไป
การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบJigsaw สามารถนำไปพัฒนาการจัดกิจกรรมเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ จึงเหมาะที่จะนำมาใช้ในการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ต่อไป ข้อเสนอแนะการวิจัยครั้งต่อไป ควรให้ผู้เรียนเอาใจใส่และรับผิดชอบ จะส่งผลให้ผลงานและการ เรียนรู้ไม่ประสบความสำเร็จ ควรมีการเตรียมการและต้องดูแล ช่วยเหลือเอาใจใส่กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างใกล้ชิด
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.