ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การจัดการความรู้ Knowledge Management
โดย กลุ่มงานอาเซียน วันจันทร์ที่ ๑๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๑ เวลา ๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ น. ณ กองการต่างประเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม
2
ประเด็นการนำเสนอ ๑. ASEAN VISION ๒. ASEAN BLUEPRINT ๓. GMS ๔. ACMECS
๕. MLC
3
ที่มา : https://issuu.com/saivarina/docs/oool
4
ที่มา : https://issuu.com/saivarina/docs/oool
5
ที่มา : https://issuu.com/saivarina/docs/oool
9
1) GMS การพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง
(Greater Mekong Subregion: GMS) กัมพูชา สาธารณรัฐประชาชนจีน สปป. ลาว เมียนมา ไทย เวียดนาม (มณฑลยูนนาน และเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง)
10
1) GMS (ต่อ) วัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจที่เกื้อกูลกันบนพื้นฐานของการมีประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมร่วมโดยได้รับความช่วยเหลือจากธนาคารพัฒนาเอเชีย
11
1) GMS (ต่อ) แผนที่แนวเส้นทางด้านเศรษฐกิจภายใต้ GMS
12
1) GMS (ต่อ) สาขาความร่วมมือของ GMS คมนาคมขนส่ง
การอำนวยความสะดวกทางการค้าและการขนส่ง พลังงาน การเกษตร สิ่งแวดล้อม การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาเมือง การท่องเที่ยว เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เขตเศรษฐกิจชายแดนและสหสาขา สาขาความร่วมมือของ GMS
13
2) ACMECS ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิรวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง ระหว่างกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ ไทย และเวียดนาม (Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy: ACMECS)
14
2) ACMECS (ต่อ) วัตถุประสงค์ เพื่อลดช่องว่างทางเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน โดยการสร้างศักยภาพและโอกาสในการพัฒนาพื้นที่ชายแดนไทย และเพื่อนบ้านให้เกิดการสร้างงานและเพิ่มรายได้ให้ประชาชน โดยเน้นการเชื่อมโยงการผลิตร่วมกัน ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ
15
โครงการความร่วมมือ 8 สาขา 2) ACMECS (ต่อ) การเชื่อมโยงการคมนาคม
การเชื่อมโยงการคมนาคม ความร่วมมือด้านการท่องเที่ยว ความร่วมมือด้านการเกษตร การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมและพลังงาน การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการลงทุน สาธารณสุข ความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม โครงการความร่วมมือ 8 สาขา
16
กรอบความร่วมมือแม่โขง-ล้านช้าง
3) mlc กรอบความร่วมมือแม่โขง-ล้านช้าง (MLC: Mekong-Lancang Cooperation) กัมพูชา สาธารณรัฐประชาชนจีน สปป. ลาว เมียนมา ไทย เวียดนาม
17
3) MLC (ต่อ)
18
ปี 2557 ปี 2559 ปี 2560 3) MLC (ต่อ) วัตถุประสงค์
10 ม.ค. 2561 การประชุมผู้นำกรอบความร่วมมือแม่โขง – ล้านช้าง ครั้งที่ ๒ ที่พนมเปญ กัมพูชา ความร่วมมือล้านช้าง-แม่โขง (LMC) ถูกเสนอขึ้นโดยนายกรัฐมนตรีของจีน หลี่เค่อเฉียง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อการพัฒนาอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงอย่างยั่งยืน 2. ลดความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาระหว่างประเทศ ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง และระหว่างอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง กับภูมิภาคอื่น ๆ ปี 2557 ปี 2559 ปี 2560 ก่อตั้งอย่างเป็นทางการที่เมืองซานย่า จีน ในการประชุมผู้นำกรอบความร่วมมือแม่โขง – ล้านช้าง ครั้งที่ ๑
19
3) MLC (ต่อ) การประชุมระดับผู้นำกรอบแม่โขง-ล้านช้าง ครั้งที่ ๒ ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ที่มา :
20
3) Mlc (ต่อ) การประชุมระดับผู้นำกรอบแม่โขง-ล้านช้าง ครั้งที่ ๒
แผนปฏิบัติการระยะ ๕ ปี กรอบความร่วมมือแม่โขง – ล้านช้าง (ค.ศ.๒๐๑๘ - ๒๐๒๒) สามเสาหลักของอาเซียน การส่งเสริมความร่วมมือในสาขาที่เร่งด่วน ๕ สาขา การเมืองและความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม - ความเชื่อมโยงเศรษฐกิจข้ามพรมแดน - ทรัพยากรน้ำ - การพัฒนาศักยภาพในการผลิต - การเกษตร - การลดความยากจน
21
ตารางเปรียบเทียบกรอบความร่วมมือ GMS / ACMECS / MLC
ไทย จีน เมียนมา ลาว กัมพูชา เวียดนาม ไทย เมียนมา ลาว กัมพูชา เวียดนาม เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจที่เกื้อกูลกันบนพื้นฐานของการมีประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมร่วมโดยได้รับความช่วยเหลือจากธนาคารพัฒนาเอเชีย เพื่อลดช่องว่างทางเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน โดยการสร้างศักยภาพและโอกาสในการพัฒนาพื้นที่ชายแดนไทย และเพื่อนบ้านให้เกิดการสร้างงานและเพิ่มรายได้ให้ประชาชน เพื่อการพัฒนาอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงอย่างยั่งยืน ลดความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาระหว่างประเทศ ใน อนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง และระหว่างอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ได้รับเงินสบับสนุน จากจีน สาขาความร่วมมือของ GMS 1. คมนาคมขนส่ง 2. การอำนวยความสะดวกทางการค้าและการขนส่ง 3. พลังงาน 4. การเกษตร 5. สิ่งแวดล้อม 6. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 7. การพัฒนาเมือง 8. การท่องเที่ยว 9. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 10.เขตเศรษฐกิจชายแดนและสหสาขา โครงการความร่วมมือ 8 สาขา 1. การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการลงทุน 2. ความร่วมมือด้านการเกษตร 3. ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมและพลังงาน 4. การเชื่อมโยงการคมนาคม 5. ความร่วมมือด้านการท่องเที่ยว 6. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 7. สาธารณสุข 8. ความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อม - สามเสาหลักของอาเซียน การส่งเสริมความร่วมมือในสาขาที่เร่งด่วน ๕ สาขา ประเทศ สมาขิก วัตถุประสงค์ แผนพัฒนาของกรอบความร่วมมือ
22
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.