งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความเชื่อมโยงเป้าหมายกระทรวงสาธารณสุขกับแผนฯ 12

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความเชื่อมโยงเป้าหมายกระทรวงสาธารณสุขกับแผนฯ 12"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความเชื่อมโยงเป้าหมายกระทรวงสาธารณสุขกับแผนฯ 12
ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม เป้าหมาย เป้าหมายที่ 2 คนในสังคมไทยทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ และความสามารถเพิ่มขึ้น เป้าหมายที่ 4 คนไทยมีสุขภาวะที่ดีขึ้น เป้าหมายที่ 2 เพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการพื้นฐานทางสังคมของภาครัฐ เป้าหมาย 2.1 เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ ตัวชี้วัด 1 เด็กมีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 เป้าหมาย 2.2 เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นมีสติปัญญาและความฉลาดทางอารมณ์เพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด 2 คะแนน IQ เฉลี่ยไม่ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน ตัวชี้วัด 3 เด็กร้อยละ 70 มีคะแนน EQ ไม่ต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน ตัวชี้วัด 4.1 ประชากรอายุ 15 – 79 ปีมีภาวะน้ำหนักเกินลดลง ตัวชี้วัด 4.2 การตายจากอุบัติเหตุ(การจราจร)ทางถนนต่ำกว่า 18 คนต่อประชากรแสนคน ตัวชี้วัด 4.3 อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จต่อประชากรแสนคนลดลง ตัวชี้วัด 4.4 การคลอดในผู้หญิงกลุ่มอายุ 15 – 19 ปี ลดลง ตัวชี้วัด 4.5 รายจ่ายรวมด้านสุขภาพภาครัฐไม่เกินร้อยละ 20 ของรายจ่ายภาครัฐ ตัวชี้วัด 4.6 ผู้สูงอายุที่อาศัยในบ้านที่มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมเป็น(ร้อยละ 20) ตัวชี้วัด 2.4 ความแตกต่างของสัดส่วนบุคลากรทางการแพทย์ต่อประชากรระหว่างพื้นที่ลดลง ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์กระทรวง ส่งเสริมสุขภาพเป็นเลิศ ป้องกันควบคุมโรคเป็นเลิศ บริการเป็นเลิศ บริหารจัดการเป็นเลิศด้วยธรรมภิบาล เป้าหมายกระทรวง 1) ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี 2) ประชาชนได้รับการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3) ประชาชนได้รับบริการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพมาตรฐาน 4) ประชาชนเข้าถึงบริการทางการแพทย์และสุขภาพอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม - สตรีและเด็ก : อัตราส่วนมารดาตาย (กรม อ.) : พัฒนาการสมวัย (กรม อ.) - วัยเรียน+วัยรุ่น : อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี (กรม อ.) : ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน (กรม อ.) : ระดับสติปัญญา (IQ)/ ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) (กรม สจ.) - วัยทำงาน : ร้อยละของประชากรวัยทำงานมีค่าดัชนีมวลกายปกติ (กรม อ.) : ประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป มีกิจกรรมทางกายเพียงพอต่อสุขภาพ (กรม อ.) ผู้สูงอายุ : Healthy Aging (กรม พ.) : ร้อยละตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ / ผู้พิการ / ผู้ด้อยโอกาส และการดูแลระยะยาวในชุมชน (กรม อ.) ร้อยละของประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง (อย.) - วัยเรียน : อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 15 ปี (กรม คร.) - วัยทำงาน : อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน (RTI) (กรม คร.) : อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงรายใหม่ (กรม คร.) + : อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ (กรม สจ.) - ประชาชนกลุ่มเสียง CVDs ได้รับการเฝ้าระวังและขึ้น ทะเบียน (กรม คร.) - ร้อยละของหน่วยบริการจัดการขยะมูลฝอยติดเชื้อได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ (กรม อ.) - ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง (กรม คร.) - อัตราการเสียชีวิตจากโรคหัวใจขาดเลือด (กรม พ.) - อัตราการเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง (กรม พ.) - อัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งตับ (กรม พ.) - อัตราการเสียชีวิตของทารกแรกเกิดอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน (กรม พ.) จำนวนการปลูกถ่ายไตสำเร็จ (กรม พ.) ร้อยละของผู้ป่วยมีอัตราการลดลงของ eGFR < 4 ml/min/1.72 m2/yr (กรม พ.) - ร้อยละของระบบ ECS คุณภาพในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป (กรม พ.) - อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ (Trauma) (กรม พ.) - ร้อยละของผู้ป่วยนอกที่ได้รับบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกได้มาตรฐาน (กรม พท.) - ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต (กรม สจ) - อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ (กรม คร.) - อัตราการเสียชีวิตในผู้ติดเชื้อ HIIV (กรม คร) - ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด (กรม พ.) - อัตราการเสียชีวิตจากการติดเชื้อ (Sepsis) (สบรส.) - ร้อยละของสถานบริการกลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมพัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีมาตรฐานสากล (JCI,ISO) (กรม สบส.) - รายจ่ายรวมด้านสุขภาพภาครัฐไม่เกินร้อยละ 20 ของรายจ่ายภาครัฐ (สปสช.) - ร้อยละผู้ไม่มีฟันผุ (cavity fee) (กรม อ.) - ลดเหลื่อมล้ำ : ประชาชนทุกคนมีสิทธิหลักประกันสุขภาพด้านส่งเสริมป้องกันไม่ต่างกัน (สปสช. & สพฉ.) - คุณภาพการให้บริการ (Quality) : ร้อยละของหน่วยบริการและหน่วยบริหารที่ผ่านการรับรองคุณภาพ (HA & PMQA) (สรพ. & กพร.) - การเข้าถึงบริการสุขภาพ (Access) : สัดส่วนบุคลากรทางการแพทย์ต่อประชากรเท่าเทียมกัน (สป.) จำนวนร้อยละโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล (RDU) (กรมวิทย์ & สบรส.) - การดำเนินงานด้านคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ (อย. & สบส.) ตัวชี้วัด สนง.ปลัดกระทรวงสาธารณสุข/สนง.คณะกรรมการอาหารและยา/กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ/สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล/สถาบันวัคซีนแห่งชาติ/สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข/สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ/องค์การเภสัช/โรงพยาบาลบ้านแพ้ว/สสส./กรมวิทย์/สพฉ. กรมอนามัย/สนง.ปลัดกระทรวงสาธารณสุข/กรมสุขภาพจิต/กรมควบคุมโรค/กรมการแพทย์/กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ/สนง.คณะกรรมการอาหารและยา กรมควบคุมโรค/สนง.ปลัดกระทรวงสาธารณสุข/กรมอนามัย/กรมสุขภาพจิต/กรมการแพทย์/กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ/สนง.คณะกรรมการอาหารและยา/กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เป้าหมายหน่วยงาน กรมการแพทย์/กรมสุขภาพจิต/ กรมพัฒนาการแทพย์แผนไทยฯ/สนง.ปลัดกระทรวงสาธารณสุข/กรมอนามัย/กรมควบคุมโรค/กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ/สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน/สปสช.

2 ตัวชี้วัด เป้าหมายกระทรวง 1) ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี หน่วยงาน
กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต กรมอนามัย สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สนง.คณะกรรมการอาหารและยา คนไทยได้รับบริการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพและมาตรฐานวิชาชีพอย่างเสมอภาค ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาจิตเวชยาเสพติดได้รับการส่งเสริมป้องกัน ประชาชนได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพจิตแบบบูรณาการตลอดช่วงชีวิตเพื่อการมีสุขภาพดี ประชาชนได้รับการส่งเสริมความอบอุ่นในครอบครัวตลอดช่วงชีวิต ผู้สูงอายุได้รับความคุ้มครองด้านการส่งเสริมสุขภาพอย่างทั่วถึง เท่าเทียมในระยะยาว ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาศักยภาพ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความมั่นคงในชีวิต ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความเข้มแข็งและอบอุ่น ประชาชนมีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเหมาะสมตามกลุ่มวัยและอยู่ในสภาพ แวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี ประชาชนและภาคีเครือข่ายภายใต้โครงการพระราชดำริและโครงการเฉลิมพระเกียรติมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้บริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง เป้าหมายให้บริการ หน่วยงาน แผนงานบูรณาการ สตรีและเด็ก : ร้อยละสถานบริการที่มีการคลอดมาตรฐาน วัยเรียน+วัยรุ่น : ร้อยละของเด็กป่วยและด้อยโอกาสที่สามารถเข้ารับการศึกษาปกติ ผู้สูงอายุ : ร้อยละของ Healthy Aging เชิงปริมาณ: จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการดูแลตามแนวทางกรมอนามัย เป้าหมาย 139,200 ราย เชิงปริมาณ:จำนวนหน่วยบริการปฐมภูมิที่จัดบริการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุตามแนวทางกรมอนามัย เป้าหมาย 3,000แห่ง เชิงปริมาณ: เครือข่ายนำองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรรมการส่งเสริมสุขภาพไปประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาศักยภาพประชาชน เป้าหมาย 190 แห่ง เชิงปริมาณ: ประชาชน และภาคีเครือข่ายได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพเพื่อความมั่นคงในชีวิต เป้าหมาย 4,000 ราย เชิงปริมาณ: ภาคีเครือข่ายได้รับการพัฒนาศักยภาพเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันที่เข้มแข็งของประชาชนและความอบอุ่นของครอบครัว เป้าหมาย 370 แห่ง เชิงปริมาณ:ภาคีเครือข่ายภายใต้โครงการพระราชดำริและโครงการเฉลิมพระเกียรติที่นำองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมไปประยุกต์ใช้ เป้าหมาย 1,480 แห่ง ตัวชี้วัด : อัตราส่วนมารดาตาย ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ตัวชี้วัด : เด็กวัยเรียนอายุ 5-14 ปี มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ไม่เกินร้อยละ 10 "ตัวชี้วัด : อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำ ของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6.0 ต่อประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี แสนคน" ตัวชี้วัด : อัตราการคลอดในมารดาอายุ ปี ไม่เกิน 50 ต่อ ประชากรหญิงอายุ ปีพันคน ภายในปี 2561 ตัวชี้วัด : อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนนไม่เกิน 14 ต่อประชากรแสนคน ร้อยละ 82.5 ของผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด วัยเรียน+วัยรุ่น : IQ เด็กไทยมีระดับสติปัญญาเฉลี่ย ไม่ต่ำกว่า 100 (แผนยุทธฯ 20 ปี) (วัดปี 64) : EQ ร้อยละของเด็กไทยมีความฉลาดทางอารมณ์ อยู่ในเกณฑ์ปกติขึ้นไป (แผนยุทธฯ 20 ปี) (วัดปี 64) - ร้อยละของวัยรุ่นและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการป้องกันการติดสารเสพติด จำนวนจังหวัด/ชมรม TO BE NUMBER ONE ที่มีศักยภาพในการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดตามแนวทางโครงการ TO BE NUMBER ONE จำนวนเครือข่ายมีการดำเนินงานตามมาตรฐานการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน จำนวนแนวทาง/องค์ความรู้/เทคโนโลยีการส่งเสริมสุขภาพจิตที่พัฒนาและถ่ายทอดสู่เครือข่ายและประชาชน เชิงปริมาณ: ภาคีเครือข่ายที่นำองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมไปประยุกต์ใช้ เป้าหมาย 429 แห่ง งบประมาณ (ไม่รวมบุคลากร .....ลบ.) ล้านบาท ล้านบาท 313 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

3 ตัวชี้วัด เป้าหมายกระทรวง หน่วยงาน กรมสุขภาพจิต กรมอนามัย
2) ประชาชนได้รับการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ หน่วยงาน กรมสุขภาพจิต กรมอนามัย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สนง.คณะกรรมการอาหารและยา กรมควบคุมโรค ประชาชนและภาคีเครือข่ายมีความสามารถจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมและขยะอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพเพื่อสุขภาพที่เหมาะสม ประชาชนกลุ่มเป้าหมายอยู่ในสภาพแวดล้อมทางอากาศที่ดี ประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้รับข้อมูลและบริการจากองค์ความรู้ งานวิจัยพัฒนา นวัตกรรม และข้อมูลอ้างอิงด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่มีประสิทธิภาพ ที่นำไปใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชน ประชาชนมีสุขภาพดีอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสามารถลดภาระโรคและภัยคุกคาม ประชาชนมีสุขภาพดีอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสามารถลดภาระโรคและภัยคุกคาม ตลอดจนได้รับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพและมีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ตัวยา เคมีภัณฑ์ และสารตั้งต้นที่เป็นวัตถุเสพติดได้รับการควบคุมให้มีการใช้ตามวัตถุประสงค์ และเป็นไปตามกฎหมาย เป้าหมายให้บริการ หน่วยงาน ประชาชน/เครือข่ายเป้าหมายสามารถดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพตามแนวทาง/มาตรฐานด้านการควบคุมโรคของประเทศ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถปฏิบัติตัวในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เหมาะสม ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการค้นหา คัดกรองความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย วัยทำงาน : อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ (แผนยุทธฯ 20 ปี) เชิงปริมาณ : ภาคีเครือข่ายมีการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมและขยะอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ เป้าหมาย ร้อยละ 80 เชิงปริมาณ: ภาคีเครือข่ายเป้าหมายมีการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษทางอากาศผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กรมอนามัยกำหนด เป้าหมาย ร้อยละ 55 แผนงานยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด : ร้อยละของอำเภอที่มีระบบตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขตามสภาพปัญหาของแต่ละพื้นที่ แผนงานยุทธศาสตร์บริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม (บูรณาการ) ตัวชี้วัด : ร้อยละของสถานบริการสุขภาพมีระบบบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อ (ร้อยละ 75) ร้อยละ 100 ของสถานประกอบการที่ได้รับใบอนุญาตผลิต นำเข้า หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งสารตั้งต้นและเคมีภัณฑ์จำเป็น มีระบบการควบคุมและป้องกันตามเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนด ตัวชี้วัด จำนวนนวัตกรรมที่คิดค้นใหม่ เทคโนโลยีสุขภาพ องค์ความรู้ หรือพัฒนาต่อยอดการให้บริการด้านสุขภาพ -ร้อยละของอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนภายใต้ระบบสุขภาพอำเภอ (DHS/DC) (ร้อยละ 85) ร้อยละของอำเภอที่สามารถควบคุมโรคติดต่อสำคัญของพื้นที่ได้ (ร้อยละ 50) จำนวนเหตุการณ์โรคติดต่ออุบัติใหม่ที่สามารถควบคุมไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง -ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เหมาะสม (ร้อยละ 80) งบประมาณ (ไม่รวมบุคลากร .....ลบ.) ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 1, ล้านบาท ล้านบาท 2, ล้านบาท

4 ตัวชี้วัด เป้าหมายกระทรวง
3) ประชาชนได้รับบริการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพมาตรฐาน หน่วยงาน กรมการแพทย์ กรมสุขภาพจิต กรมพัฒนาการแพทย์ แผนไทยฯ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป้าหมายให้บริการ หน่วยงาน คนไทยได้รับบริการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพและมาตรฐานวิชาชีพอย่างเสมอภาค ประชาชนได้รับการดูแลและเข้าถึงบริการสุขภาพจิตทั้งในภาวะปกติและภาวะวิกฤติ ประชาชนที่มีปัญหาจิตเวชยาเสพติดได้รับการบำบัด รักษาให้สามารถดำเนินชีวิตได้ตามปกติในสังคม องค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก และสมุนไพร ได้รับการวิจัย พัฒนาและถ่ายทอดอย่างเหมาะสมสู่ระบบสุขภาพ รวมถึงภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย และสมุนไพรได้รับการคุ้มครอง ประชาชนเข้าถึงบริการและได้รับบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับบริการรักษาพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ ควบคุมป้องกันโรค และฟื้นฟูสภาพโดยเครือข่ายบริการสุขภาพ อย่างมีประสิทธิภาพ ประชาชนมีสุขภาพดีอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสามารถลดภาระโรคและภัยคุกคาม ตลอดจนได้รับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพและมีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ประชาชน ผู้เสพ ผู้ติดยาและสารเสพติดได้รับการส่งเสริม ป้องกัน บำบัดรักษาฟื้นฟู ติดตามดูแล เพื่อสามารถดำเนินชีวิตได้ตามปกติในสังคม ประชาชนมีสุขภาพดีอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสามารถลดภาระโรคและภัยคุกคาม ตลอดจนได้รับการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพและมีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ แผนงานพื้นฐานพัฒนาแลเสริมสร้างศักยภาพคน ตัวชี้วัด ร้อยละพื้นที่ที่มีคลินิกหมอครอบครัว (Primary care cluster) เพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 ต่อปี) ตัวชี้วัด : ร้อยละของอำเภอที่มีระบบบริการสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System (DHS)) ที่เชื่อมโยงกับระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ ตัวชี้วัด : การส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการสุขภาพลดลง ร้อยละ 50 แผนงานยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด : จำนวนสถานบริการสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุขมีการจัดรูปแบบพิเศษตามรูปแบบ/เกณฑ์ที่กำหนด (5 แห่ง) แผนงานพื้นฐานด้านความมั่นคงและการต่างประเทศ ตัวชี้วัด : ความครอบคลุมเด็กได้รับวัคซีนตาม EPI ในชายแดนใต้ ตัวชี้วัด : อัตราการเสียชีวิตของมารดาในชายแดนใต้ แผนงานบูรณาการ 1. ร้อยละองค์ความรู้ใหม่จากการวิจัยได้รับการเผยแพร่/นำไปใช้ประโยชน์ 2. ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือน หลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษาตามเกณฑ์กำหนด แผนงานยุทธศาสตร์ 1. อัตราตายจากโรคหัวใจขาดเลือด 2. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 3. อัตราตายทารกแรกเกิด อายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน 4. จำนวนผู้ป่วยที่ปลูกถ่ายไตสำเร็จ 5. ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4ml/min/1.73m2/yr 6. ร้อยละของระบบ ECS คุณภาพในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป 7. อัตราตายจากการบาดเจ็บ (Trauma) 8. ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีการดูแลแบบประคับประคอง 9. อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ 10. อัตราตายจากโรคมะเร็งปอด 11. อัตราการเกิดการกำเริบเฉียบพลันในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) 12. จำนวนความร่วมมือด้านวิชาการแพทย์กับประชาคมอาเซียน แผนงานพื้นฐาน 1. จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับบริการด้านการแพทย์เพื่อการพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้ ตัวชี้วัด ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต (แผนยุทธฯ 20 ปี) จำนวนผู้ป่วยยาเสพติดที่มีปัญหาสุขภาพจิตได้รับการบำบัดรักษา ร้อยละของผู้เสพ ผู้ติดยาและสารเสพติดที่มีปัญหาสุขภาพจิตได้รับการบำบัดรักษาครบตามกำหนด (Early remission rate) แผนงานยุทธศาสตร์ป้องกัน ปราบปราม และบําบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด (บูรณาการ) ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 3 เดือน หลังการจำหน่ายจากการบำบัดรักษาครบตามกำหนด ตัวชี้วัดตามเอกสารงบประมาณ - จำนวนองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์ทางเลือกและสมุนไพรที่ได้รับการพัฒนาและถูกนำไปถ่ายทอด (5 เรื่อง) ผู้ป่วยที่มารับบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่ได้มาตรฐานเพิ่มขึ้น (ร้อยละ 10) สถานบริการสุขภาพระดับทุติยภูมิ/ปฐมภูมิได้รับการพัฒนาให้มีการจัดการคลินิกเฉพาะโรคด้านการแพทย์แผนไทย (ร้อยละ 70) ตัวชี้วัดตามแผน 20 ปี(ด้านสาธารณสุข) - จำนวนของยาแผนไทยที่พัฒนาเป็นตำรับยาใหม่เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา (5 ตำรับ/ปี) แผนงานยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้) (บูรณาการ) ตัวชี้วัด : จำนวนเครือข่ายการดูแลรักษาโรคหัวใจ มะเร็งและโรคหลอดเลือดสมอง ทุกจังหวัดชายแดนภาคใต้ (5 เครือข่าย) ตัวชี้วัด : จำนวนเครือข่ายสูติแพทย์ในการดูแลหญิงมีครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงและภาวะวิกฤต ทุกจังหวัดชายแดนภาคใต้ (5 เครือข่าย) ตัวชี้วัด : อัตราการเสียชีวิตของมารดาในชายแดนใต้ แผนงานยุทธศาสตร์จัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์ (บูรณาการ) ตัวชี้วัด สัดส่วนของแรงงานต่างด้าวที่ได้รับการดูแลรักษาปัญหาสุขภาพที่ตรวจพบ แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ (บูรณาการ) ตัวชี้วัด : หน่วยบริการในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษได้รับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในระดับที่ดีขึ้น งบประมาณ (ไม่รวมบุคลากร .....ลบ.) 3,278 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท 7, ล้านบาท

5 ตัวชี้วัด เป้าหมายกระทรวง
3) ประชาชนได้รับบริการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพมาตรฐาน หน่วยงาน สนง.คณะกรรมการอาหารและยา ผู้บริโภคได้รับการคุ้มครองด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพปลอดภัย ผู้ประกอบการอาหารในกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ที่เข้าข่ายตามเกณฑ์ Primary GMP ได้รับการยกระดับเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ระบบการควบคุม กำกับดูแลผลิตภัณฑ์สุขภาพมีความสอดคล้องกับระดับภูมิภาคและสากล เป้าหมายให้บริการ หน่วยงาน ร้อยละ 95 ของผู้บริโภคมีความเชื่อมั่นต่อผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการรับรองจาก อย. ระดับความสำเร็จของการนำผลความร่วมมือระหว่างประเทศมาใช้พัฒนาระบบการกำกับดูแลผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ระดับ 5) ตัวชี้วัด ร้อยละ 70 ของสถานประกอบการในกลุ่มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) อาหารที่เข้าข่ายตามเกณฑ์ Primary GMP มีมาตรฐาน งบประมาณ (ไม่รวมบุคลากร .....ลบ.) ล้านบาท

6 เป้าหมายกระทรวง 4) ประชาชนเข้าถึงบริการทางการแพทย์และสุขภาพอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม หน่วยงาน กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประชาชนได้รับบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขที่มีคุณภาพมาตรฐานละมีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ประชาชนเข้าถึงบริการและได้รับบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน ผู้สูงอายุได้รับการคุ้มครองทางสุขภาพ มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้รับการดูแลอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม ทุกหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข บริหารราชการ มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล โปร่งใส ปราศจากการทุจริต ส่งผลให้ทุกภาคส่วนได้รับบริการที่ดี มีความพึงพอใจ และเชื่อมั่นศรัทธาต่อการดำเนินงานของหน่วยงาน เป้าหมายให้บริการ หน่วยงาน ประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้รับข้อมูลและการบริการที่มีประสิทธิภาพและทันสมัย สามารถเข้าถึงบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิ ภาพและทันเหตุการณ์ ประชาชนผู้มีสิทธิในระบบการแพทย์ฉุกเฉินเข้าถึงบริการที่มีมาตรฐานและคุณภาพ ประชาชนทุกคนได้รับการคุ้มครองสิทธิในการเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่ได้มาตรฐานและคุณภาพ ประชาชนผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เข้าถึงบริการและได้รับการคุ้มครองสิทธิ ประชาชนทุกคนเข้าถึงบริการสุขภาพอย่างเป็นธรรม แผนงานพื้นฐาน ตัวชี้วัด : ร้อยละของหน่วยบริการและหน่วยบริหารที่ผ่านการรับรองคุณภาพ (HA & PMQA) (สรพ. & กพร.) ตัวชี้วัด : ร้อยละของอำเภอที่มีบุคลากรสาธารณสุขเพียงพอ ไม่ต่ำกว่า 80 % ของเกณฑ์ ตัวชี้วัด : ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการระบบการผลิตและพัฒนากำลังคนได้ตามเกณฑ์เป้าหมายที่กำหนด ตัวชี้วัด :ดัชนีความสุขของคนทำงาน (Happy Work Life Index) ตัวชี้วัด :องค์กรที่มีความสุข (Happy work place) ตัวชี้วัด : ร้อยละของหน่วยบริการระดับทุติยภูมิและตติยภูมิสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพได้ ตัวชี้วัด : ร้อยละของกฎหมายที่ควรปรับปรุงได้รับการแก้ไข ตัวชี้วัด : ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน ตัวชี้วัด :จำนวนร้อยละโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ตัวชี้วัด : สัดส่วนการจัดซื้อร่มต่อการจัดซื้อเดี่ยวของการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์และวัสดุทันต กรรม แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาระบบประกันสุขภาพ (บูรณาการ) ตัวชี้วัด : ร้อยละของอำเภอที่มีระบบบริการสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System (DHS)) ที่เชื่อมโยงกับระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ตัวชี้วัด : การส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการสุขภาพลดลง ร้อยละ 50 ตัวชี้วัด : สถานบริการสุขภาพภาครัฐผ่านการรับรองมาตรฐานเพิ่มขึ้น (ร้อยละ 10) ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชากรกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิเข้าถึงบริการสุขภาพ (ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90) - จำนวนร้อยละโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) - ร้อยละของผู้ป่วยจากเชื้อดื้อยาลดลง ร้อยละ 50 - จำนวนประชาชากรที่เข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (1,500,000 คน) - สัดส่วนผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตที่มาด้วยระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (ร้อยละ 20) - จำนวนประชาชากรที่เข้าถึงบริการการฉุกเฉิน (1,500,000 คน) - จำนวนผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตได้รับการคุ้มครองสิทธิ์เข้าถึงบริการการฉุกเฉิน (200,000 คน) - สัดส่วนผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตที่มาด้วยระบบการแพทย์ฉุกเฉิน (ร้ยยละ 20) - ครัวเรือนที่ต้องกลายเป็นครัวเรือนยากจนภายหลังจากการจ่าย ค่ารักษาพยาบาล ไม่เกินร้อยละ 0.4 - อัตราการใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพในการรับบริการผู้ป่วยในไม่ต่ำกว่าร้อยละ 87 - ประชาชนทุกคนมีสิทธิหลักประกันสุขภาพด้านส่งเสริมป้องกันไม่ต่างกัน - รายจ่ายรวมระบบประกันสุขภาพภาครัฐไม่เกินร้อยละ 17 ของรายจ่ายภาครัฐ แผนงานยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ (บูรณาการ) ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองปัญหาสุขภาพไม่น้อยกว่า (ร้อยละ 70) ตัวชี้วัด แผนงานยุทธศาสตร์ป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ (บูรณาการ) ตัวชี้วัด : ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน (Integrity and Transparency Assessment : ITA) (ระดับ5) งบประมาณ (ไม่รวมบุคลากร .....ลบ.) ล้านบาท ล้านบาท 1, ล้านบาท 124,297,568,800 ล้านบาท 14, ล้านบาท

7 ตัวชี้วัด เป้าหมายกระทรวง หน่วยงาน โรงพยาบาลบ้านแพ้ว
4) ประชาชนเข้าถึงบริการทางการแพทย์และสุขภาพอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม หน่วยงาน โรงพยาบาลบ้านแพ้ว สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล กรมสุขภาพจิต สถาบันวัคซีนแห่งชาติ เป้าหมายให้บริการ หน่วยงาน ประชาชนเข้าถึงบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน โดยการบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพ สถานพยาบาลมีคุณภาพตามมาตรฐาน ความปลอดภัย และมีการเรียนรู้ ประชาชนได้รับบริการสุขภาพจิตจากหน่วยงานบริการจิตเวชและเครือข่ายที่มีคุณภาพมาตรฐาน ภายใต้การบริหารองค์กรและสมรรถนะบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ ผลงานวิจัยด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่เผยแพร่หรือสามารถนำ ไปใช้ในการพัฒนางานสุขภาพจิต ประเทศไทยสามารถพึ่งตนเองได้ในด้านวัคซีนทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ : จำนวนการรับบริการทางการแพทย์ - ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ : ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการ เชิงปริมาณ - ร้อยละของสถานพยาบาลที่ได้รับการรับรอง HA (เป้าหมาย ร้อยละ 63) เชิงคุณภาพ - ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบรายงานความเสี่ยงทางคลินิก (National Learning and Reporting System of Clinical Risk) (ระดับ 2) - อัตราการติดเชื้อปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจในโรงพยาบาลที่ได้รับรอง HA (เป้าหมาย 6.0 ) - อัตราการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะในโรงพยาบาลที่ได้รับการรับรอง HA (เป้าหมาย 3.5) ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ : ร้อยละของงานวิจัยวัคซีนเป้าหมายของประเทศที่ได้รับการสนับสนุนจากสถาบัน ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ : 1. งานวิจัยวัคซีนเป้าหมายของประเทศที่ได้รับการสนับสนุนจากสถาบันสามารถนำไปต่อยอดสู่การทดสอบในสัตว์หรือในมนุษย์ระยะที่ 1 อย่างน้อย 2 งานวิจัย 2. งานวิจัยวัคซีนเป้าหมายของประเทศเข้าสู่การผลิตในระดับกึ่งอุตสาหกรรมอย่างน้อย 1 งานวิจัย ตัวชี้วัด - จำนวนหน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิตได้รับการพัฒนาความเป็นเลิศตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ - จำนวนผลงานวิจัยและเทคโนโลยีด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่ได้รับการวิจัยและพัฒนา - ร้อยละผลงานวิจัยและเทคโนโลยีด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่ถูกนำไปใช้ในการพัฒนาดำเนินงานสุขภาพจิต งบประมาณ (ไม่รวมบุคลากร .....ลบ.) ล้านบาท ล้านบาท 963 ล้านบาท ล้านบาท


ดาวน์โหลด ppt ความเชื่อมโยงเป้าหมายกระทรวงสาธารณสุขกับแผนฯ 12

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google