งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความรอบรู้ ด้านสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความรอบรู้ ด้านสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความรอบรู้ ด้านสุขภาพ
Health Literacy 25 มกราคม 2560

2 “ความรอบรู้ด้านสุขภาพ หมายถึง
ความรอบรู้และความแตกฉานด้านสุขภาพเพื่อให้ประชาชนทุกคนสามารถกลั่นกรอง เลือกรับ นำไปสู่การตัดสินใจ ด้วยความเฉียบคม ที่จะรับ/ปรับ/ใช้/ไม่ใช้สินค้าและบริการด้านสุขภาพ” “การประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพ จะประเมินได้จากประชาชนต้องเข้าถึงข้อมูล ความรู้และบริการ เข้าใจ ซักถาม คัดเลือก รับ/ปรับ/ใช้ ได้ผลแล้วบอกต่อได้”

3 นิยาม ความรอบรู้ด้านสุขภาพ
หมายถึง ประชาชน เข้าถึง เข้าใจ ข้อมูล ความรู้ และการจัดบริการสุขภาพ สามารถ ตัดสินใจ เลือกรับผลิตภัณฑ์สุขภาพและใช้บริการสุขภาพ ตลอดจนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้

4 Lift Course Approach (LCA ) ประกอบด้วย 4 concept
Timeline : “today’s experiences and exposures influence tomorrow health” Timing  Health Trajectory เส้นทางหรือถนนชีวิตและสุขภาพมีช่วงที่สำคัญและไวต่อการรับผลกระทบต่อสุขภาพ 3. Environment รวมถึง community environment ทั้ง Biologic ,Physical and social มีผลมากต่อการสร้างเสริมสุขภาพ 4. Equity – ความเหลื่อมล้ำส่งผลต่อสุขภาพ มากกว่าพันธุกรรม และการตัดสินใจส่วนบุคคล

5 Conceptual model of health literacy

6 เส้นทางชีวิต(Life Course Approach)
ข้อเสนอ ระบบพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพไทย แบบบูรณาการ 3 มิติ (Health Literacy System – Thai HL Matrix-3 Dimensions) การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ตามกลุ่มวัยใน Setting ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 10 ม.ค.60 ก่อนตั้งครรภ์ ตั้งครรภ์ และการเจริญเติบโตของเด็ก หน่วยบริการสุขภาพ ศูนย์บริการเด็กชุมชน เส้นทางชีวิต(Life Course Approach) พัฒนา เด็กวัยเรียน วัยรุ่น และเยาวชน สถานศึกษา/ศูนย์พัฒนาชุมชน พัฒนาสุขภาพวัยทำงาน ที่ทำงาน, สถานประกอบการ, สวน - ไร่ - นา การไปใช้บริการทางการแพทย์ พัฒนาผู้สูงวัยเป็นหลักชัยของสังคม อาคารชุด/ชุมชน/LTC/ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุกลางวัน มีและเข้าถึง ข้อมูลบริการ เข้าใจโรค ปัญหา การจัดบริการ ตรวจสอบ ซักถามได้ ตัดสินใจใช้ตาม บริบทและเงื่อนไข ของตนเอง แสวงหาและเข้าถึง ข้อมูลผลิตภัณฑ์ ที่สนใจ เข้าใจ ข้อดีข้อเสีย ความเสี่ยง ความคุ้มค่า ประเมิน ตรวจสอบ และเลือกรับ ตัดสินใจเลือกใช้ มีและเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับโรคที่อาการเสี่ยง เข้าใจโรค ความเสี่ยง และปัจจัยเสี่ยง ซักซ้อม ตรวจสอบ ตัดสินใจลดหรือ กำจัดปัจจัยเสี่ยง มีและเข้าถึงปัจจัย กำหนดสุขภาพ เข้าใจปัจจัย ปกป้อง เพื่อพิจารณาสุขภาพ สอบถาม คัดกรอง และเลือก ตัดสินใจปรับพฤติกรรมตนเอง และการปรับสภาพแวดล้อมได้ การคัดกรองและเลือกรับผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ การควบคุมป้องกันโรคด้วยตนเอง การส่งเสริมสุขภาพของตนเอง ระบบที่มีผลต่อสุขภาพของประชาชนตามกลุ่มวัย 3 มิติ 4 ประเด็น (4x4x4) กระบวนการพัฒนา Health Literacy เข้าถึง/ เข้าใจ /ตรวจสอบ/ตัดสินใจใช้และบอกต่อ

7 ข้อเสนอ10 ข้อของสภาปฏิรูป โดยสังเขป
ยกระดับการปฏิรูปความรอบรู้ด้านต่างๆ ของประชาชนเป็นวาระแห่งชาติ (National Agenda) จัดตั้งคณะกรรมการสร้างเสริมความรอบรู้ และสื่อสารสุขภาพแห่งชาติ กำหนดให้มีการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน อยู่ในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี อยู่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและแผนพัฒนาด้านสาธารณสุข จัดการให้สถาบันการศึกษาทุกระดับและสถานบริการสุขภาพ สถานที่ทำงานและโรงงานต่างๆ เป็นองค์กรแห่งความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literate Organization) พัฒนาชุมชน/ท้องถิ่นเป็นชุมชนรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literate Communities)

8 ข้อเสนอ10 ข้อของสภาปฏิรูป โดยสังเขป (ต่อ)
สนับสนุนและขยายความครอบคลุมให้ประชาชนสามารถรู้หนังสือให้มากที่สุด (Literacy) สนับสนุนการศึกษาวิจัย และจัดให้มี Center of Excellence ด้านสุขภาพและความรอบรู้ด้านสุขภาพ จัดให้มีรายการโทรทัศน์ด้านสุขภาพเป็นประจำ และมีการบริหารจัดการเพื่อตอบโต้ข้อมูลที่ผิดพลาดและเป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ทันท่วงที พัฒนากระบวนการผลิตสื่อด้านสุขภาพและช่องทางเผยแพร่ข้อมูล จัดให้มีการสำรวจในกลุ่มประชาชนกลุ่มต่างๆ หรือทั้งประเทศในเรื่องต่อไปนี้ ทุก 3 หรือ 5 ปี - ความรอบรู้ด้านสุขภาพ - พฤติกรรมสุขภาพ, พฤติกรรมเสี่ยง National Health Examination Survey

9 ความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ
ร่าง กรอบยุทธศาสตร์ชาติด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม การสร้างคนไทยแข็งแรง (คนไทย 4.0) ด้วยแนวทางประชารัฐ ความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ หน่วยงานใน ภาคสาธารณสุข หน่วยงานนอก ภาคสาธารณสุข การบริหารจัดการ คนไทยแข็งแรง เชิงพื้นที่ ภาคประชาสังคม ภาคเอกชน เส้นทางชีวิตและสุขภาพ

10 คุณสมบัติของพลเมืองไทย 4. 0 รอบรู้สุขภาพ Smart Thai People 4
คุณสมบัติของพลเมืองไทย 4.0 รอบรู้สุขภาพ Smart Thai People 4.0 Health Literacy 100% ตัดสินใจได้ด้วยตนเอง Independent Health Literacy เรียนรู้ที่จะอยู่อย่างมีสุขภาพดี Learn to Live with Health Literacy ใฝ่เรียนรู้ที่จะเข้าถึงข้อมูลความรู้สุขภาพ Love to Learn 4 Health Literacy 100% 0% จิตสาธารณะ : Learn to Love ไม่สามารถตัดสินใจโดยตนเอง Dependent Health Literacy ปรับพฤติกรรมได้ผลแล้วบอกต่อ Interdependent Health Literacy By นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 10 ม.ค.60

11 กรอบความรอบรู้ เรื่องสุขภาพของพลเมืองไทย 4.0 4 มิติ x 4 ห่วง
บริการสุขภาพ ป้องกัน ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ส่งเสริม เป้าหมาย พลเมืองไทย 4.0 Smart Thai People 4.0 5 ระดับ พฤติกรรม ความรอบรู้ด้านสุขภาพของพลเมือง 1. เข้าถึง 2. เข้าใจ 3. ซักถาม ประเมิน 4. ตัดสินใจ 5. บอกต่อ By นพ.วชิระ เพ็งจันทร์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 10 ม.ค.60

12


ดาวน์โหลด ppt ความรอบรู้ ด้านสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google