งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การวางตำแหน่งของ สปสช.ในยุคของการเปลี่ยนแปลง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การวางตำแหน่งของ สปสช.ในยุคของการเปลี่ยนแปลง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การวางตำแหน่งของ สปสช.ในยุคของการเปลี่ยนแปลง
กระจายอำนาจ ประชารัฐ ปฏิรูป

2 ระบบสาธารณสุขกับบทบาทองค์กร
ระบบสาธารณสุขอยู่ในยุคของการเปลี่ยนแปลงภายใต้นโยบายประชารัฐ การปฏิรูป การกระจายอำนาจซึ่งนับวันภาคประชาชน รวมทั้งท้องถิ่นจะมีบทบาทมากขึ้น องค์กรสาธารณสุข (รวมทั้ง สปสช.) ซึ่งเดิมเคยผูกขาดงานอยู่ ก็ต้องปรับบทบาท ตลอดจนตำแหน่งแห่งที่ของตนในบริบทใหม่ให้ได้ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ต้องแข่งขันกับตัวเองเพื่อความอยู่รอด สิ่งที่ตามมาจากการเปลี่ยนแปลงของ (1) ทัศนะ (2) ระบบสาธารณสุข คือความสับสน เช่น ความสับสนในบทบาทหน้าที่ รวมทั้งกระบวนการ หรือในบางครั้งเกิดการหยุดชะงักของงานอย่างที่ L.M.Applegate : Harvard Business School เรียกว่าเป็น “การเปลี่ยนแปลงอย่างถอนรากถอนโคน” (Disruptive Change)

3 ระบบสาธารณสุขกับบทบาทองค์กร
ยุคของการเปลี่ยนแปลงคือโอกาสสำหรับผู้ที่มีความคิดก้าวหน้าที่จะนำเสนอความคิดใหม่ๆ หรือ นวัตกรรม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของกระบวนการ ผลผลิต รูปแบบบริการหรือวิธีบริหารจัดการ ซึ่งอาจจะเปลี่ยนโฉมหน้าของงานสาธารณสุขรวมทั้งบทบาทของสังคม และชุมชนในการพัฒนาสุขภาพไปอย่างสิ้นเชิง นวัตกรรมเกิดมาจากความคิดสร้างสรรค์ ผู้บริหารที่ประสบความสำเร็จจะใช้เวลาบางส่วนสำหรับ การดู ฟัง แลกเปลี่ยน วิเคราะห์ สิ่งที่เกิดขึ้นรอบตัวทั้งในและนอกองค์กร จะไม่หมกมุ่นอยู่กับการแก้ปัญหาเล็กน้อยประจำวันหรือการทำงานประจำจนไม่มีเวลาสำหรับสิ่งที่สำคัญกว่า ผู้บริหารที่เก่งจะสามารถมองเห็นแนวโน้มก่อนที่โอกาสจะมาถึง และจะทำงานเพื่อให้โอกาสเหล่านั้นเกิดเป็นความจริง เขาเหล่านั้นจะมองหารูปแบบการบริหารจัดการ กระบวนการใหม่ๆที่อาจจะเกิดขึ้นแล้วในที่ต่างๆหรือแม้แต่ที่ยังเป็นเพียงความคิดอยู่ แล้วดูว่าจะสนับสนุน ส่งเสริม หรือใช้ประโยชน์ได้อย่างไร

4 ระบบสาธารณสุขกับบทบาทองค์กร
สปสช. ควรวางตำแหน่ง (Positioning) ในระบบสาธารณสุขที่ชัดเจน โดยเพิ่มน้ำหนักจากมิติเดิมในฐานะผู้ซื้อบริการทางการแพทย์ (Purchaser) ให้เป็นผู้พัฒนา-สร้างนวัตกรรม (Developer-Innovator) ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชน เพื่อส่งเสริม เติมเต็มนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ด้านการพัฒนาสุขภาพ ทั้งนี้โดยเริ่มต้นจากโครงการความร่วมมือที่เห็นชอบร่วมกับกระทรวงสาธารณสุขแล้ว (LTC program)

5 เครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS)
ภาคีต่างๆในเครือข่ายสุขภาพอำเภอมี เอกภาพ สปสช (ผ่านกองทุนฯตำกบล) บทบาทเดิม บทบาทใหม่ ร่วมคิด/ร่วมทำ/ร่วมเรียนรู้/ร่วมสร้างนวัตกรรม (ประชารัฐ) รัฐดูแลสุขภาพ ตามความจำเป็น (Essential Care) ชุมชนบริหารจัดการสุขภาพด้วยตนเอง (Self-admin)

6 ความร่วมมือในโครงการ LTC

7 ควรทำอะไรกับคนกลุ่มนี้? (ราคาของการละเว้นไม่ปฏิบัติสูง)
การจำแนกผู้สูงอายุตามศักยภาพ โดยกรมอนามัย ( Barthel Activities of Daily Living – ADL) ควรทำอะไรกับคนกลุ่มนี้? (ราคาของการละเว้นไม่ปฏิบัติสูง) โครงการ LTC โดยทีมหมอครอบตรัว

8 ประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ
หลักการและเหตุผล ประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ผลกระทบทางเศรษฐกิจ ผู้สุงอายุพ้นจากภาคการผลิตและบริการแล้วจึงไม่อยู่ในฐานะที่จะเป็นกำลังผลิตของประเทศ ผลกระทบทางสังคม ผู้สูงอายุจำนวนมากหมายถึงภาระและค่าใช้จ่ายในการดูแลที่เพิ่มขึ้นเป็นเงาตามตัว ศักยภาพ ผู้สุงอายุจำนวนมาก โดยเฉพาะผู้ที่เพิ่งเข้าสู่วัยนี้ ยังมีศักยภาพ มีพลังรวมทั้งประสบการณ์มากพอที่จะพัฒนาตนเองและสังคมต่อไปได้ ยุทธศาสตร์ รัฐต้องวางยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรกลุ่มนี้ เพื่อรักษาทรัพยากรมนุษย์ที่ทรงคุณค่าไว้ให้นานที่สุด โดยให้เป็นภาระต่อสังคมน้อยที่สุด

9 สร้างใหม่ให้เข้มแข็ง
สปสช.สร้างความเข็มแข็งให้ 3 เสาหลัก ของการพัฒนาสุขภาพอำเภอ (DHS) สร้างใหม่ให้เข้มแข็ง

10 วางตำแหน่งและบทบาทของผู้สูงอายุ
สปสช.สนับสนุน แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว แนวทางเดิม สาธารณสุข สร้างบทบาทของบุคลากร สร้างเทคโนโลยีของบุคลากร สร้างแผนงานโครงการ บริการประชาชน แนวทางใหม่ สร้างบทบาทของผู้สูงอายุ สร้างกระบวนการ ของผู้สูงอายุ สร้างแผนงานโครงการ สำหรับผู้สูงอายุ อปท. / กองทุนฯตำบล / ผู้สูงอายุนักการสื่อสาร ผู้สูงอายุนักบริหาร ชมรม/องค์กรผู้สูงอายุ

11 การจัดการโครงการในบริบทใหม่

12 2 แนวคิดของการพัฒนาในปัจจุบัน
เพื่อสร้างความเข้มแข็ง เพื่อสนองความต้องการ Strength-based Development Need-based Development (Process-oriented) (Output-oriented) ผสมผสาน เน้นกระบวนการ ไม่เน้นผลงาน เน้นผลงาน ไม่เน้นกระบวนการ

13 ประเด็นที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุ
รัฐ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ประชา ชน ท้องถิ่น / ชมรม ผสอ. สปสช.สนับสนุน

14 สปสช.โดยกองทุนฯตำบลสนับสนุนการพัฒนาสุขภาพ
บทบาทกระทรวงสาธารณสุข 14

15 สปสช.สนับสนุนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ของกลุ่มเป้าหมาย
รพสต อสม ท้องถิ่น ท้องที่ สร้างกลไกส่งผ่านความสำเร็จ ( นวัตกรรมรูปแบบ ) กองทุนฯตำบล

16 รูปแบบการเปลี่ยนผ่านระบบจัดการสุขภาพ จากภาครัฐสู่ภาคประชาชน
ปรับปรุง / สร้างสรรค์ ภาคประชาชน ควบคุม / สั่งการ

17 ตัวอย่างประกาศค่ากลางของจังหวัด

18 การบูรณาการโครงการ : กลุ่มวัยผู้สูงอายุ ต.ท่ากว้าง อ.สารภี จ.เชียงใหม่
การบูรณาการโครงการ : กลุ่มวัยผู้สูงอายุ ต.ท่ากว้าง อ.สารภี จ.เชียงใหม่ ตัวอย่าง กิจกรรมจาก SRM สุขภาพจิต โรคไม่ติดต่อ สารเสพติด พฤติกรรม ชุดงาน/ค่าใช้จ่าย 1.การพัฒนา/บริการ กลุ่มเป้าหมาย ดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ทำคลินิก DPAC ทำคลินิก เลิกสุรา บุหรี่ สร้างเสริมวามสุข 5 มิติ การพัฒนาระบบ บริการปฐมภูมิ (บาท) 2. การเฝ้าระวัง/ คัด กรองโดยประชาชน -สำรวจ 2Q ADL วัดความดัน เจาะน้ำตาลในเลือด สารพิษในเลือด ทดสอบนิโคติน ทำAUDIT -ชั่งนน. ส่วนสูง หาBMI รอบเอว - การพัฒนาศักยภาพ อสม. นักจัดการ สุขภาพ (บาท) 3. การดำเนิน มาตรการ ทางสังคม ปฏิบัติการชมรมสายใย น้ำใจท่ากว้าง สร้างบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. งานศพ งานเศร้างดเหล้า งดเบียร์ งดน้ำอัดลม ปั่นจักรยานทุกวันอาทิตย์ แอโรบิค ทุกเย็น ผู้สูงอายุ วันอังคารและวันศุกร์ ธรรมนูญสุขภาพ ตำบล (บาท) 4. การสื่อสารเพื่อเปลี่ยน พฤติกรรม ส่งเสริมการทดลองปฏิบัติพฤติกรรมใหม่ในรูปแบบต่างๆ สร้างบุคคลต้นแบบ บุคคล เยี่ยมบ้าน บุคคลต้นแบบ การฝึกทักษะ อผส วิทยากรกระบวนการ (บาท) 5. การปรับ โครงการ ของท้องถิ่น/ตำบล โครงการสุขใจไม่คิดสั้น โครงการลดเค็มครึ่งหนึ่งคนท่ากว้างห่างไกลโรค โครงการลดละ เลิกบุหรี่ สุรา ยาเสพติด โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ โรงเรียนร่มโพธิ์ โครงการรายประเด็น โครงการรายกิจกรรม

19 การจัดการนวัตกรรม

20 สปสช. โดยกองทุนฯตำบล สนับสนุน
การสร้างนวัตกรรมสังคมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2. ภาคีเครือข่ายรัฐ/ประชาชนคิดแก้ปัญหา ทำ(Make) ปรับปรุง(Innovate) สร้างสรรค์(Create) 1.สังคมกำหนด 3. ได้ความคิดใหม่ 8. มอบอำนาจ/ ขยายเครือข่าย 9. ประชาชนมีบทบาทร่วมกับรัฐ (ประชารัฐ) 4. ปฎิรูปโครงการ ผลกระทบ ครอบคลุม ยั่งยืน 5. นวัตกรรมของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน 7. ทัศนะ/พฤติกรรมเปลี่ยน 6. แลกเปลี่ยนเรียนรู้

21 ทางเลือกของผู้บริหาร
เห็นว่า การเปลี่ยนแปลงคือวิกฤติที่อาจจะเปลี่ยนให้เป็นโอกาสได้ จะพยายามจัดการกับการเปลี่ยนแปลงเหล่านั้น จะเห็นช่องทางและโอกาสในการสร้างนวัตกรรมเรื่องอะไร อย่างไร ที่อาจจะนำมาซึ่งความอยู่รอดและความเจริญขององค์กรในบริบทใหม่ได้ วิกฤติคือภัยคุกคาม มองการเปลี่ยนแปลงด้วยความหวาดระแวง พยายามทุกวิถีทางที่จะป้องกันองค์กรจากการเปลี่ยนแปลงนั้น ในที่สุดก็จะนำมาซึ่งความขัดแย้ง ทัศนะเช่นนี้จะทำให้พลาดโอกาสในการปรับตัว ซึ่งจะกลับเป็นผลร้ายกับองค์กรเองในภายหลัง

22 www.amornsrm.net ติดตามความก้าวหน้าและค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
ขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt การวางตำแหน่งของ สปสช.ในยุคของการเปลี่ยนแปลง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google