ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ของนักศึกษาในระดับชั้น ปวส. 2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557 นางขวัญดาว จันมลฑา วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
2
จุดประสงค์การวิจัย 1. เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการ กลุ่มสัมพันธ์ ของนักศึกษาในระดับชั้น ปวส. 2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557 2. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมก่อนและหลังการพัฒนาบุคลิกภาพ ด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ของนักศึกษาในระดับชั้น ปวส.2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการพัฒนาบุคลิกภาพ ด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ของ นักศึกษาในระดับชั้น ปวส.2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557
3
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ดำเนินการศึกษาจากกลุ่มประชากร ได้แก่ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557 จำนวน 17 คน
4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลจากการพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ของนักศึกษา ในระดับชั้น ปวส. 2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557 พบว่า ก่อนการพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของนักศึกษา นักศึกษาใหญ่จะเกี่ยงกันนำเสนอ ออกมานำเสนองานโดยขาดความมั่นใจ กลัว ไม่กล้าพูดเสียงดัง ยืนไม่นิ่ง ไม่รู้ว่าจะเอามือไว้ที่ไหน ไม่กล้าสบตาเพื่อน เรียบเรียงคำพูดไม่เป็น หลังจากใช้แบบฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ นักศึกษามีความมั่นใจในตนเอง กล้าแสดงออกมากขึ้น จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 100
5
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ)
2. ผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมก่อนและหลังการพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ของนักศึกษาระดับชั้นปวส.2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557 พบว่า นักศึกษากล้าแสดงออกมากขึ้นจากเดิมร้อยละ เป็น เพิ่มขึ้นร้อยละ แสดงว่าหลังจากใช้แบบฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพด้าน การแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ใน การจัดการเรียนการสอนรายวิชาศิลปการขายชั้นสูง ทำให้นักศึกษามีความมั่นใจในตนเอง และกล้าแสดงออกมากขึ้น
6
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ)
3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ของนักศึกษาระดับชั้นปวส.2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557 พบว่าในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.56 และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ทุกข้ออยู่ในระดับมากที่สุด ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือนักศึกษามีความมั่นใจในตนเองและกล้าแสดงออก รองลงมาคือมีโอกาสแสดงความคิดเห็น ได้แลกเปลี่ยนความรู้ความคิด ทำให้นักเรียนกล้าคิดกล้าตอบ เข้าใจในเนื้อหามากขึ้น มีความกระตือรือร้นในการเรียน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และกลุ่ม ส่งเสริมการคิดและตัดสินใจ กิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมกับเนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกัน ตามลำดับ
7
สรุปผลการวิจัย 1. ผลการพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ของนักศึกษา ในระดับชั้น ปวส. 2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557 พบว่า ก่อนการพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของนักศึกษา นักศึกษาส่วนใหญ่จะเกี่ยงกันนำเสนอ ออกมานำเสนองานโดยขาดความมั่นใจ กลัว ไม่กล้าพูดเสียงดัง ยืนไม่นิ่ง ไม่รู้ว่าจะเอามือไว้ที่ไหน ไม่กล้าสบตาเพื่อน เรียบเรียงคำพูดไม่เป็น หลังจากใช้แบบฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ นักศึกษามีความมั่นใจในตนเอง กล้าแสดงออกมากขึ้น จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 100
8
สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 2. ผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมก่อนและหลังการพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ของนักศึกษาระดับชั้นปวส.2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557 พบว่า นักศึกษากล้าแสดงออกมากขึ้นจากเดิมร้อยละ เป็น เพิ่มขึ้นร้อยละ 47.06
9
สรุปผลการวิจัย (ต่อ) 3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ของนักศึกษาระดับชั้นปวส.2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557 พบว่าในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดโดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.56 และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ทุกข้ออยู่ในระดับมากที่สุด ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือนักศึกษามีความมั่นใจในตนเองและกล้าแสดงออก รองลงมาคือมีโอกาสแสดงความคิดเห็นความคิดเห็น ได้แลกเปลี่ยนความรู้ความคิด ทำให้นักเรียนกล้าคิดกล้าตอบ เข้าใจในเนื้อหามากขึ้น มีความกระตือรือร้นในการเรียน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และกลุ่ม ส่งเสริมการคิดและตัดสินใจ กิจกรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมกับเนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกัน ตามลำดับ
10
หลังจากใช้แบบฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ นักศึกษามีความมั่นใจในตนเอง กล้าแสดงออกมากขึ้น คิดเป็นร้อยละ 100
11
ได้รับรางวัล ทีมชนะเลิศ ประเภท New Scoopy I The Adventure
สุดหล้า...ซ่านิยม ในการประกวดโครงการ “Marketing Plan Contest โครงการ 7 by A.P. Honda” จังหวัดอุตรดิตถ์
12
ทีม Green Day ได้รับรางวัล ทีมรองชนะเลิศ
ประเภท ZOOMER-X Life Unblocked แสบสรรค์ มันส์นอกกรอบ ในการประกวดโครงการ “Marketing Plan Contest โครงการ 7 by A.P. Honda” จังหวัดอุตรดิตถ์ ทีม Seeker ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ ประเภท New Scoopy I The Adventure สุดหล้า...ซ่านิยม ในการประกวดโครงการ “Marketing Plan Contest โครงการ 7 by A.P. Honda” จังหวัดอุตรดิตถ์
13
นางสาวนฤมล คล้ายชม นางสาววารุณี สุขมั่น นางสาวสุภาวิณี ปานวล
นางสาวนฤมล คล้ายชม นางสาววารุณี สุขมั่น นางสาวสุภาวิณี ปานวล นางสาวศิริพร เพชรรัตน์ ได้รับรางวัลเกียรติบัตรเหรียญทอง วิชาเทคนิค การนำเสนอขายสินค้าและบริการ ระดับ ปวส. การแข่งขันทักษะวิชาชีพและกีฬานักเรียนนักศึกษา สถานศึกษาเอกชนในระบบ ประเภทอาชีวศึกษาระดับภาค ครั้งที่ 28 ประจำปีการศึกษา 2558 ณ จังหวัดพะเยา
14
ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้
1. ในการพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ของนักศึกษาในระดับชั้น ปวส. 2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2557 ผู้วิจัยได้ใช้แบบฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ และสังเกตพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสามารถทำให้นักศึกษามีความมั่นใจในตนเอง กล้าแสดงออกมากขึ้น ดังนั้นครูสามารถนำผลการวิจัยไปปรับใช้ในการจัดการเรียนรู้ในระดับชั้น ปวส. 2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด ในวิชาอื่นๆ หรือระดับชั้นอื่นๆ ที่มีพฤติกรรมคล้ายคลึงกันได้ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ครูต้องศึกษาพฤติกรรมของผู้เรียนก่อนการปรับพฤติกรรม เพื่อให้ การจัดการเรียนการสอนเกิดประสิทธิภาพต่อไป
15
ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้
2. ครูสามารถร่วมกับคณะครูที่สอนนักศึกษาในระดับชั้น ปวส. 2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด ทำการปรับพฤติกรรมการเรียนนักศึกษาในระดับชั้น ปวส. 2 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด เพื่อให้เกิดการพัฒนาผู้เรียนอย่างเป็นระบบและสอดคล้องกันในทุกวิชา
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.