ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประจำจังหวัดชลบุรี การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ
2
ป้องกัน ป.ป.ช ทำอะไร ปราบปราม ตรวจสอบทรัพย์สิน
3
ภารกิจและอำนาจหน้าที่คณะกรรมการ ป.ป.ช.
3 ด้านหลัก 1. ด้านป้องกันการทุจริต 1.1 เสนอมาตรการ ความเห็น และข้อเสนอแนะต่อ คณะรัฐมนตรี รัฐสภา ศาลหรือคณะกรรมการตรวจเงิน แผ่นดินเพื่อให้มีการปรับปรุงการปฏิบัติราชการ 1.2 เสริมสร้างทัศนคติและค่านิยมเกี่ยวกับความซื่อสัตย์ สุจริต 1.3 ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต มาตรา 19
4
ภารกิจและอำนาจหน้าที่คณะกรรมการ ป.ป.ช.
3 ด้านหลัก (ต่อ) 2. ด้านปราบปรามการทุจริต 2.1 ไต่สวนข้อเท็จจริงและสรุปสำนวนเสนอต่อวุฒิสภา เกี่ยวกับการถอดถอน ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐตามที่กฎหมาย กำหนดออกจากตำแหน่ง 2.2 ไต่สวนข้อเท็จจริงและสรุปสำนวนเพื่อดำเนินคดีอาญาผู้ดำรงตำแหน่ง ทางการเมือง ซึ่งกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการหรือกระทำ ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ 2.3 ไต่สวนและวินิจฉัยว่าเจ้าหน้าที่รัฐร่ำรวยผิดปกติ กระทำความผิด ฐานทุจริตต่อหน้าที่หรือกระทำความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ มาตรา 19
5
ภารกิจและอำนาจหน้าที่คณะกรรมการ ป.ป.ช.
3 ด้านหลัก (ต่อ) 3. ด้านตรวจสอบทรัพย์สิน 3.1 กำหนดตำแหน่งเจ้าหน้าที่ของรัฐที่จะต้องยื่นบัญชีแสดงรายการ ทรัพย์สินและหนี้สินของตนเอง คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 3.2 ตรวจสอบความถูกต้องและความมีอยู่จริง รวมทั้งความ เปลี่ยนแปลงของทรัพย์สินและหนี้สิน (กรณีเข้ารับตำแหน่ง กรณีพ้น จากตำแหน่ง กรณีพ้นจากตำแหน่งครบ 1 ปี) 3.3 ไต่สวนและวินิจฉัยว่ากรณีผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและ เจ้าหน้าที่ของรัฐ ร่ำรวยผิดปกติ มาตรา 19 ผู้ดำรงตำแหน่ง เจ้าหน้าที่รัฐ
6
คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ที่ ๑/๒๕๕๗ เรื่อง การได้มาซึ่งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นเป็นการชั่วคราว ข้อ ๒ และข้อ ๕ กรณีสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่จะพ้นจากตำแหน่ง ให้สมาชิกสภาท้องถิ่น ท้องถิ่นและผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ต้องพ้นจากตำแหน่งเนื่องจากครบวาระตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นต้นไปยังคงอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ ต่อไป มาตรา 19
7
คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ผลของ คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๑/๒๕๕๗ กรณีผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาท้องถิ่นที่จะพ้นจากตำแหน่งเนื่องจากครบวาระ ตั้งแต่วันที่ ๑ ม.ค. ๕๘ แต่ยังคงอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป ตามคำสั่ง คสช.ที่ ๑/๒๕๕๗ ให้ถือว่ายังไม่พ้นจากตำแหน่ง จึงไม่มีหน้าที่ยื่น กรณีพ้น เมื่อ กกต. ประกาศให้มีการเลือกตั้ง ถือว่าผู้บริหารท้องถิ่นและสมาชิกสภาพท้องถิ่นพ้นจากตำแหน่ง จึงมีหน้าที่ยื่นบัญชีกรณีพ้นจากตำแหน่ง โดยถือวันที่ประกาศ กกต. ให้มีการเลือกตั้งมีผลใช้บังคับเป็นวันที่มีหน้าที่ยื่นบัญชี มาตรา 19
8
สรุปอำนาจหน้าที่หลักของคณะกรรมการ ป.ป.ช.
ด้านปราบปรามการทุจริต ไต่สวนข้อเท็จจริง ชี้มูล อาญา จำคุก/ปรับ วินัย ร้ายแรง ไม่ร้ายแรง ด้านตรวจสอบทรัพย์สิน ตรวจสอบบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ จงใจไม่ยื่นบัญชีฯ ภายในกำหนด จงใจยื่นบัญชีฯ ด้วยข้อความอันเป็นเท็จ จงใจปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบ โทษ ห้ามดำรงตำแหน่ง 5 ปี จำคุก ไม่เกิน 6 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ ด้านป้องกันการทุจริต รณรงค์เผยแพร่ให้ความรู่การป้องกันการทุจริต
9
“เจ้าหน้าที่ของรัฐ” หมายถึง ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นซึ่งมีตำแหน่ง หรือเงินเดือนประจำ พนักงานหรือบุคคลผู้ปฏิบัติงานในรัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ ผู้บริหารท้องถิ่น และสมาชิกสภาท้องถิ่น ซึ่งมิใช่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง เจ้าหน้าที่ หรือพนักงานตามกฎหมายว่าด้วยลักษณะการปกครองท้องที่ และให้หมายความรวมถึงกรรมการ อนุกรรมการ ลูกจ้างของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ และบุคคลหรือคณะบุคคลซึ่งใช้อำนาจ หรือได้รับมอบหมายให้ใช้อำนาจทางการปกครองของรัฐในการดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งตามกฎหมาย ไม่ว่าจะเป็นการจัดตั้งขึ้นในระบบราชการรัฐวิสาหกิจ และกิจการอื่นของรัฐ (พ.ร.บ.ปปช.ม.4)
10
สถานการณ์ความรุนแรงของปัญหาทุจริต
ในปัจจุบัน
11
แนวโน้มของการคอร์รัปชั่นในประเทศไทย
(The Trend of Corruption in Thailand) ปัญหาคอร์รัปชั่น ถือได้ว่า เป็นปัญหาใหญ่ที่เกิดขึ้นในประเทศต่างๆ ทั่วโลก ประเทศที่พัฒนาแล้ว ประเทศที่ด้อยพัฒนา เป็นปัญหาที่มีความสําคัญที่สุดปัญหาหนึ่งของหลายประเทศ ยังไม่มีทีท่าว่าจะหมดไป ทวีความรุนแรงและซับซ้อนมากขึ้นเรื่อยๆ
12
แนวโน้มของการคอร์รัปชั่นในประเทศไทย
(The Trend of Corruption in Thailand) ไทย ปัญหาคอร์รัปชั่นเกิดขึ้นในสังคมไทยมาช้านาน มีแนวโน้มที่จะมีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ และพบปัญหาดังกล่าวเกือบทุกภาคส่วน แม้รัฐบาลมีความพยายามป้องกันและแก้ไขมาโดยตลอด แต่ดูเหมือนว่าปัญหาการคอร์รัปชั่นก็ไม่ได้ถูกแก้ไขได้เท่าใดนัก รายงานผลการจัดอันดับค่าดรรชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชั่นของประเทศไทย ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2541จนถึง ปี พ.ศ.2558 พบว่า ค่าดรรชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชั่น ยังอยู่ในระดับต่ำกว่า 50 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน มาโดยตลอด
13
การทุจริตเป็นปัญหาในระดับสังคมโลก
- อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้าน การทุจริต (UNITED NATION CONVENTION AGAINST CORRUPTION) ประเทศสมาชิก 128 ประเทศ ร่วมลงนามเมื่อวันที่ 9 – 10 ธันวาคม ณ เมืองเมอร์ริดา ประเทศเม็กซิโก - คำขวัญ “ WITH CORRUPTION EVERYONE PAYS” ความหมาย “ ที่ใดมีคอร์รัปชัน ทุกคนที่นั่นต้องร่วมชดใช้ ” สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)
14
รูปแบบหรือวิธีการทุจริตคอร์รัปชันของเจ้าหน้าที่รัฐ
1. ระดับผู้ปฏิบัติ - เจ้าหน้าที่ของรัฐระดับผู้ปฏิบัติจะยักยอกเงินหรือทรัพย์สินของรัฐมาใช้ส่วนตัว - เจ้าหน้าที่ระดับผู้ปฏิบัติเรียกเก็บเงินจากประชาชนทั้งที่ ทำผิดกฎหมายและไม่ผิดกฎหมาย จากนั้นนำผลประโยชน์ที่ได้มาแบ่งปันกัน 2. ระดับผู้บริหาร - ระดับผู้บริหารใช้อำนาจหน้าที่ควบคุมการจัดซื้อ จัดจ้าง ช่วยเหลือพรรคพวกในการจัดซื้อ จัดจ้าง - ระดับผู้บริหารมีนโยบายหรือกำหนดแนวทางที่เอื้อต่อ การทุจริตคอร์รัปชันของเจ้าหน้าที่รัฐ
15
ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3
ยุทธศาสตร์ชาติ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ )
16
ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 3
วิสัยทัศน์ ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต (Zero tolerance & Clean Thailand) ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2 ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 1 วิสัยทัศน์ สังคมไทยมีวินัย โปร่งใส ยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม และร่วมป้องกันและปราบปรามการทุจริต เป็นที่ยอมรับในระดับสากล วิสัยทัศน์ สังคมไทยมีวินัย และยึดมั่นในคุณธรรมจริยธรรม ทุกภาคส่วนร่วมป้องกัน และปราบปรามการทุจริต
17
วิสัยทัศน์ ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต (Zero Tolerance & Clean Thailand) พันธกิจ : สร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต ยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทุกภาคส่วนแบบบูรณาการ และปฏิรูปกระบวนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตทั้งระบบ ให้มีมาตรฐานสากล เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ : ระดับคะแนนของดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) สูงกว่าร้อยละ 50 วัตถุประสงค์ที่ 1 สังคมมีพฤติกรรม ร่วมต้านการทุจริตในวงกว้าง วัตถุประสงค์ที่ 2 เกิดวัฒนธรรมทางการเมือง (Political Culture) มุ่งต้านการทุจริตในทุกภาคส่วน วัตถุประสงค์ที่ 3 การทุจริตถูกยับยั้งอย่างเท่าทันด้วยนวัตกรรม กลไกป้องกันการทุจริตและระบบบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล วัตถุประสงค์ที่ 4 การปราบปรามการทุจริตและการบังคับใช้กฎหมาย มีความรวดเร็ว เป็นธรรมและได้รับความร่วมมือจากประชาชน วัตถุประสงค์ที่ 5 ดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทยมีค่าคะแนนในระดับที่สูงขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างสังคม ที่ไม่ทนต่อการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับเจตจำนง ทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 3 สกัดกั้นการทุจริต เชิงนโยบาย ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบป้องกัน การทุจริตเชิงรุก ยุทธศาสตร์ที่ 5 ปฏิรูปกลไกและกระบวนการการปราบปรามการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 6 ยกระดับคะแนนดัชนี การรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทย
18
ที่ไม่ทนต่อการทุจริต
ยุทธศาสตร์ที่ 1 มุ่งเน้นปลูกฝังจิตสำนึก ปรับฐานคิด พัฒนาหลักสูตร/บทเรียน/การเรียนการสอน/การถ่ายทอด ในทุกระดับ พัฒนา/ปรับปรุงมาตรฐานทางจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ และประกาศใช้อย่างจริงจัง 4. เสริมพลังการมีส่วนร่วมของชุมชน (Community) และบูรณาการทุกภาคส่วน เพื่อต่อต้านการทุจริต 1. ปรับฐานความคิดทุกช่วงวัย ตั้งแต่ปฐมวัยให้สามารถแยกระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัวและผลประโยชน์ส่วนรวม สร้างสังคม ที่ไม่ทนต่อการทุจริต สร้างชุมชนเฝ้าระวัง ต่อต้านการทุจริต Social Sanction 2. ส่งเสริมให้มีระบบและกระบวนการ กล่อมเกลาทางสังคมเพื่อต้านทุจริต 3. ประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเครื่องมือต้านทุจริต กล่อมเกลาทางสังคมทุกช่วงวัย ตั้งแต่ปฐมวัย พัฒนานววัตกรรมสื่อการเรียนรู้ พัฒนาจิตสำนึกสาธารณะ สื่อสารทางสังคมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เสริมบทบาทสื่อมวลชนและองค์กรวิชาชีพ พัฒนามาตรวัดทางสังคม ปรับใช้ในการกล่อมเกลา พัฒนาหลักสูตร/ปรับรูปแบบและวิธีการนำเสนอ พัฒนาระบบและองค์ความรู้
19
ทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต
กำหนดให้นักการเมืองต้องแสดงเจตจำนงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต จัดทำเอกสารแสดงเจตจำนงทางการเมืองของพรรคการเมืองและเผยแพร่ให้แก่ประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ 2 1.พัฒนากลไกการกำหนดให้นักการเมืองแสดงเจตจำนงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริตต่อสาธารณชน 6. ประยุกต์นวัตกรรมในการกำกับดูแลและควบคุมการดำเนินงานตามเจตจำนงทางการเมืองของพรรคการเมืองที่ได้แสดงไว้ต่อสาธารณะ 2. เร่งรัดการกำกับติดตามมาตรฐาน ทางจริยธรรมของนักการเมืองและเจ้าหน้าที่รัฐในทุกระดับ กำหนดพรรคการเมืองแสดงแนวทางนโยบาย/งบระมาณ ก่อนการเลือกตั้ง จัดทำระบบฐานข้อมูลการกำกับติดตามโครงการ ที่ดำเนินการตามนโยบายของพรรคการเมือง ศึกษาและกำหนดแนวทาง/ขั้นตอนการกำกับติดตามมาตรฐาน ทางจริยธรรมของนักการเมืองและเจ้าหน้าที่รัฐ ยกระดับเจตจำนง ทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต 3. สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนกำหนดกลยุทธ์ และมาตรการสำหรับเจตจำนงในการต่อต้านการทุจริต 5. ส่งเสริมการจัดตั้งกองทุนต่อต้าน การทุจริตสำหรับภาคเอกชนและภาคประชาชน โดยรัฐให้การสนับสนุนทุนตั้งต้น ศึกษา/วิเคราะห์แนวทางปฏิบัติทั้งในระดับชาติและท้องถิ่น ประสานความร่วมมือระหว่างภาคส่วน เสริมเจตจำนงทางการเมืองในระดับประชาชน 4.พัฒนาระบบการบริหารงบประมาณด้านการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตเพื่อให้ได้รับการจัดสรรงบประมาณ รายจ่ายประจำปีที่มีสัดส่วนเหมาะสมกับการแก้ปัญหา ศึกษาแนวทาง พัฒนาตัวแบบกองทุน ศึกษาวิเคราะห์แนวทาง/จัดทำแผนการปฏิรูประบบการจัดสรรงบประมาณ
20
1. วางมาตรการเสริมในการสกัดกั้น
การทุจริตเชิงนโยบายบนฐานธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์ที่ 3 ขั้นการก่อตัวนโยบาย (Policy formation) ขั้นการกำหนดนโยบาย (Policy Formulation) ขั้นตัดสินใจนโยบาย (Policy Decision) ขั้นการนำนโยบายไปปฏิบัติ (Policy Implementation) ขั้นการประเมินนโยบาย (Policy Evaluation) 4. ส่งเสริมให้มีการศึกษา วิเคราะห์ ติดตาม และตรวจสอบ การทุจริตเชิงนโยบาย ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศึกษาวิเคราะห์/เผยแพร่องค์ความรู้ตรวจสอบ นโยบายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สกัดกั้นการทุจริต เชิงนโยบาย การตรวจสอบแนวนโยบายหาเสียงของพรรคการเมือง เกณฑ์ชี้วัดความเสี่ยงของนโยบาย Policy Risk Indicator (PRI) เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารนโยบาย พัฒนากรอบกำหนดนโยบาย พัฒนาแนวปฏิบัติการยอมรับนโยบายและรับผิดชอบสังคม วิเคราะห์ความเสี่ยงและการใช้จ่ายงบประมาณ เสริมสร้างความโปร่งใสกระบวนการพิจารณากฎหมาย กำหนดบทลงโทษฝ่าฝืนจริยธรรม สร้างกลไกตตรวจสอบฝ่ายบริหาร พัฒนานวัตกรรมเพื่อเสริมสร้างความโปร่งสา บูรณาการรติดตามนโยบาย 3. การพัฒนานวัตกรรมสำหรับการรายงานและตรวจสอบธรรมาภิบาลในการนำนโยบายไปปฏิบัติ นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีใช้ติดตาม และตรวจสสอบนโยบายรัฐ 2. การรายงานผลสะท้อนการสกัดกั้นการทุจริตในวงจรนโยบาย (Policy cycle feedback) จัดตั้งหน่วยงานกลางการบูรณาการและประมวลผลข้อมูล
21
1. เพิ่มประสิทธิภาพระบบงานป้องกันการทุจริต
ยุทธศาสตร์ที่ 4 1. เพิ่มประสิทธิภาพระบบงานป้องกันการทุจริต 2. สร้างกลไกการป้องกันเพื่อยับยั้งการทุจริต ระบบงาน แนวคิด มาตรการ 8. การพัฒนาระบบและส่งเสริมการดำเนินการตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003 เครื่องมือ/กลไกในการตรวจสอบ/ยับยั้ง 3. พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อลดปัญหาการทุจริต พัฒนาระบบป้องกัน การทุจริตเชิงรุก นโยบายแนวปฏิบัติ ปรับปรุงประมวลจริยธรรม แนวทางจัดซื้อจัดจ้าง แลกเปลี่ยนข่าวสาร Online Public Sector Trends 4. พัฒนารูปแบบการสื่อสารสาธารณะ เชิงสร้างสรรค์เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 7. พัฒนาสมรรถนะและองค์ความรู้ เชิงสร้างสรรค์ของบุคลากรด้านการป้องกันการทุจริต 5. การพัฒนา วิเคราะห์และบูรณาการระบบการประเมินด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน เพื่อเชื่อมโยงกับแนวทางการยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย Marketing in Public Sector Content Theme Creative Thinking Competency Trends 6. สนับสนุนให้ภาคเอกชนดำเนินการตามหลักบรรษัทภิบาล Cooperate Governance พัฒนาเกณฑ์มาตรฐาน/บูรณาการระบบประเมิน
22
ปฏิรูปกลไกและกระบวนการการปราบปรามการทุจริต
2. ปรับปรุงการตรวจสอบความเคลื่อนไหวและความถูกต้องของทรัพย์สินและหนี้สิน ยุทธศาสตร์ที่ 5 1. ปรับปรุงระบบรับเรื่องร้องเรียนการทุจริต ให้มีประสิทธิภาพ การปรับปรุงกฎหมาย/ระเบียบให้กระบวนการมีประสิทธิภาพ สร้างความเชื่อมั่น เชื่อมโยงการข่าวและฐานข้อมูล เพื่อลดความล่าช้า ซ้ำซ้อน พัฒนาระบบการตรวจสอบความเคลื่อนไหวและความถูกต้อง (smart audit system) กำหนดกลุ่มเป้าหมาย 9. เพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินคดีทุจริตระหว่างประเทศ 3. ปรับปรุงกระบวนการและพัฒนากลไกพิเศษในการปราบปรามการทุจริตที่มีความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ 8. การเปิดโปงผู้กระทำความผิดให้สาธารณชนรับทราบและตระหนักถึงโทษของการกระทำการทุจริตเมื่อคดีถึงที่สุด Fast track ปฏิรูปกลไกและกระบวนการการปราบปรามการทุจริต 4. ตรากฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายในการปราบปรามการทุจริตให้เท่าทันต่อพลวัตรของการทุจริตและสอดคล้องกับสนธิสัญญาและมาตรฐานสากล 7. พัฒนาสมรรถนะและองค์ความรู้เชิงสหวิทยาการของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการปราบปรามการทุจริต ศึกษาและวิเคราะห์ปรับปรุงกฎหมาย จัดลำดับความเสียหาย/เร่งด่วน/ความถี่ บูรณาการหน่วยงานตรวจสอบถ่วงดุล พัฒนาองค์ความรู้/ทักษะ/ขีดความสามารถ แลกเปลี่ยน/การเสริมความรู้ในรูปแบบสหวิชาการ สร้างระบบการแบ่งปันความรู้ (Knowledge Sharing) 5. บูรณาการข้อมูลและข่าวกรองในการปราบปรามการทุจริต 6.การเพิ่มประสิทธิภาพในการคุ้มครองพยานและผู้แจ้งเบาะแส และเจ้าหน้าที่ในกระบวนการปราบปรามการทุจริต พัฒนาระบบฐานข้อมูล จัดตั้งศูนย์กลางข่าวกรอง (Intelligence agency) ร่วมมือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวกรองร่วมกับสื่อ/ภาคประชาสังคม Whistleblower , คุ้มครองเจ้าหน้าที่ , กำหนดรางวัลแจ้งเบาะแส
23
1. ศึกษา และกำกับติดตามการยกระดับดัชนี
ยุทธศาสตร์ที่ 6 2. บูรณาการเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเพื่อยกระดับดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย 1. ศึกษา และกำกับติดตามการยกระดับดัชนี การรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย วิเคราะห์และเชื่อมโยงเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติฯ จัดทำ Strategy Map กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินการ ยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ของประเทศไทย ศึกษาระเบียบวิธีวิจัย (Methodology) ของแหล่งข้อมูล ที่ใช้สำหรับการจัดอันดับดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) บูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เร่งรัด และกำกับ ติดตามการดำเนินการ การจัดการการรับรู้ (Perceptions)
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.