งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประชุมคณะกรรมการอำนวยการ โครงการพัฒนาเมืองสมุนไพร ครั้งที่ 1/2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประชุมคณะกรรมการอำนวยการ โครงการพัฒนาเมืองสมุนไพร ครั้งที่ 1/2559"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประชุมคณะกรรมการอำนวยการ โครงการพัฒนาเมืองสมุนไพร ครั้งที่ 1/2559
โลโก้ กระทรวงสาสุข / มหาดไทย การประชุมคณะกรรมการอำนวยการ โครงการพัฒนาเมืองสมุนไพร ครั้งที่ 1/2559 วันที่ 1 สิงหาคม 2559 เวลา น. ณ ห้องประชุม 1 กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

2 วาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งเพื่อทราบ
1.1 แผนแม่บทแห่งชาติ ว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพร ฉบับ 1 พ.ศ.2560 – 2564 1.2 คำสั่งคณะกรรมการอำนวยการโครงการพัฒนาเมืองสมุนไพร (

3 คำสั่งกระทรวงสาธารณสุขแต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการ
โครงการพัฒนาเมืองสมุนไพร (คำสั่ง กสธ.ที่ 891/2559 ลงวันที่ 6 มิถุนายน 2559) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข และปลัดกระทรวงมหาดไทย ประธาน อธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ รองประธาน ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย /กระทรวงเกษตรและสหกรณ์/ กระทรวงอุตสาหกรรม /กระทรวงพาณิชย์/ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม/กระทรวงศึกษาธิการ /กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา /กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี /กรมประชาสัมพันธ์ กรรมการ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ผู้ว่าราชการจังหวัด นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ประธานสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประธานบริษัท บางกอกดรัก จำกัด รองอธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ กรรมการและเลขานุการ

4 อำนาจหน้าที่ ขับเคลื่อนโครงการสู่การปฏิบัติ กำกับ ติดตาม ประเมินผล
นำเสนอความก้าวหน้าโครงการต่อคณะกรรมการอำนวยการ และคณะกรรมการดำเนินการยกร่างแผนแม่บทแห่งชาติฯ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานได้ตามความเหมาะสม งานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย

5 คำสั่งจังหวัด แต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อน
โครงการพัฒนาเมืองสมุนไพรจังหวัด ผู้ตรวจราชการ ก.สธ. / อธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ ที่ปรึกษา ผู้ว่าราชการจังหวัด ประธาน เกษตรและสหกรณ์จังหวัด / อุตสาหกรรมจังหวัด / พาณิชย์จังหวัด / ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด/ ศึกษาธิการจังหวัด / ปศุสัตว์จังหวัด / พัฒนาการจังหวัด /ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด / สถาบันการศึกษา /ประธานหอการค้าจังหวัด กรรมการ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด / นายกเทศมนตรี / วิสาหกิจชุมชน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด กรรมการและเลขานุการ หัวหน้าสำนักงานจังหวัด กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

6 อำนาจหน้าที่ กำหนดทิศทางการขับเคลื่อนโครงการสู่การปฏิบัติ
จัดทำแผนยุทธศาสตร์ แผนงบลงทุน และแผนปฏิบัติการ ขับเคลื่อนโครงการ โดยการมีส่วนร่วมและบูรณาการการดำเนินงานของภาคีเครือข่ายพันธมิตรทุกภาคส่วนตามแนวทางประชารัฐ กำกับ ติดตาม ประเมินผล นำเสนอความก้าวหน้าโครงการต่อคณะกรรมการอำนวยการโครงการพัฒนาเมืองสมุนไพร แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานตามความเหมาะสม งานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย

7 กลไกการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาเมืองสมุนไพร
คณะกรรมการนโยบายสมุนไพรแห่งชาติ (นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน) กำกับ ติดตามประเมินผล คณะกรรมการอำนวยการ โครงการพัฒนาเมืองสมุนไพร (ปลัดกระทรวงสาธารณสุข และปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นประธาน) รายงานผลการดำเนินงาน คณะกรรมการขับเคลื่อน โครงการพัฒนาเมืองสมุนไพรระดับจังหวัด (ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน)

8 วาระที่ 3 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ
3.1 แนวทางการพัฒนาเมืองสมุนไพร หลักสำคัญ พัฒนาสมุนไพรและผลิตภัณฑ์ ครบวงจร (ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง) สร้างความร่วมมือตามนโยบายประชารัฐอย่างเป็นรูปธรรม เน้นบทบาทหลักในการขับเคลื่อน คือ จังหวัด ส่งเสริมเศรษฐกิจผ่านวิสาหกิจชุมชนหรือกลุ่มธุรกิจท้องถิ่นที่มีศักยภาพ

9 แนวทางการดำเนินงานเมืองสมุนไพร
1. พัฒนาคุณภาพวัตถุดิบสมุนไพร 1.1 การเพาะชำและผลิตต้นกล้าพันธุ์ 1.3 การแปรรูปวัตถุดิบคุณภาพ 1.2 ปลูกแบบมาตรฐานเกษตรอินทรีย์/ GAP 1.4 ตลาดกลางวัตถุดิบสมุนไพร เมืองสมุนไพรประชารัฐ ประชารัฐ 2. ขยายช่องทางการใช้ประโยชน์ เพิ่มมูลค่า(Non - Therapeutics) 3. ส่งเสริมการใช้สมุนไพรในระบบบริการ (Therapeutics) 2.1 ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 4 กลุ่ม 3.1 ผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพรใน รพ. 2.2 ผลิตภัณฑ์ OTOPสมุนไพร 3.2 ศูนย์ผลิตและกระจายยาสมุนไพร ของจังหวัด 2.3 ร้านจำหน่ายผลิตภัณฑ์ 3.3 วิจัยและพัฒนายาสมุนไพร ในการรักษาโรค

10 ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม
Business Impact 1. พัฒนาคุณภาพวัตถุดิบสมุนไพร การเพาะชำและผลิตต้นกล้าพันธุ์ เพาะปลูกตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์/GAP การแปรรูปวัตถุดิบสมุนไพร ตลาดกลางวัตถุดิบสมุนไพร 2. ขยายช่องทางการใช้ประโยชน์ การเพิ่มมูลค่าและการตลาด พัฒนาผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรม 4 กลุ่ม (อาหารเสริม เครื่องสำอาง,เครื่องดื่ม, และอาหารสัตว์) ผลิตภัณฑ์ OTOP ร้านจำหน่ายผลิตภัณฑ์ (Outlet) 4. ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาบุคลากร ยาสมุนไพรรักษาโรค ผลิตภัณฑ์สมุนไพร 4 กลุ่ม บรรจุภัณฑ์ วิจัยตลาด 3. ส่งเสริมการใช้สมุนไพรในระบบบริการสุขภาพ ส่งเสริมการผลิตยาสมุนไพรที่ได้มาตรฐาน ส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรในโรงพยาบาล พัฒนาศูนย์ผลิตและกระจายยาสมุนไพรในจังหวัด บูรณาการ จังหวัด กลไกประชารัฐ ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม Environment/Herb Culture resource identity Reputation Participation Sustainability

11 เป้าหมายผลลัพธ์ที่สำคัญ หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
1. การพัฒนาคุณภาพวัตถุดิบสมุนไพร กิจกรรมดำเนินงาน เป้าหมายผลลัพธ์ที่สำคัญ หน่วยงานรับผิดชอบหลัก 1.1 ส่งเสริมสนับสนุนการก่อตั้งชมรม/ กลุ่ม/ วิสาหกิจชุมชน ผู้เพาะปลูกและผู้แปรรูป วัตถุดิบสมุนไพร กลุ่มผู้ปลูก/ ผู้แปรรูปวัตถุดิบ สมุนไพร จำนวน 50 กลุ่ม/ จังหวัด เกษตรจังหวัด/ พัฒนาการ จังหวัด/ มูลนิธิฯลฯ 1.2 ฝึกอบรมผู้เพาะปลูกให้มีความรู้ มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ / GAP พื้นที่เพาะปลูกสมุนไพรที่ได้ มาตรฐานเกษตรอินทรีย์/ GAP จำนวน 5,000 ไร่/ จังหวัด 1.3 จัดตั้งศูนย์เพาะชำและพัฒนาต้นกล้า พันธุ์สมุนไพร วิจัยพัฒนาและสนับสนุนต้น กล้าพันธุ์สมุนไพรคุณภาพ จำนวน 20 ชนิด/ จังหวัด เกษตรจังหวัด/ มหาวิทยาลัย/ วิสาหกิจชุมชน/ มูลนิธิฯลฯ 1.4 จัดตั้งตลาดกลางวัตถุดิบสมุนไพร การซื้อขายวัตถุดิบสมุนไพรใน ระบบราคารับประกัน ปริมาณ 500 เมตริกตัน/ จังหวัด/ ปี พาณิชย์จังหวัด/ หอการค้า จังหวัด/ วิสาหกิจชุมชน 1.5 จัดตั้งศูนย์แปรรูปวัตถุดิบสมุนไพรขั้นต้น ปริมาณวัตถุดิบสมุนไพรแปรรูป ที่มีคุณภาพ 1,000 เมตริกตัน/ จังหวัด/ ปี เกษตรจังหวัด/ พาณิชย์ จังหวัด/ หอการค้าจังหวัด/ วิสาหกิจชุมชน

12 เป้าหมายผลลัพธ์ที่สำคัญ หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
2. การขยายช่องทางการใช้ประโยชน์ เพิ่มมูลค่า และนำไปใช้ทุกภาคส่วน กิจกรรมดำเนินงาน เป้าหมายผลลัพธ์ที่สำคัญ หน่วยงานรับผิดชอบหลัก 2.1 ส่งเสริม สนับสนุนการผลิต แปรรูป วัตถุดิบสมุนไพร เป็นผลิตภัณฑ์ สมุนไพรชุมชน (OTOP สมุนไพร) - ผลิตภัณฑ์สมุนไพรชุมชน (OTOP สมุนไพร) จำนวน 100 รายการ/ จังหวัด พัฒนาการจังหวัด/ พาณิชย์ จังหวัด/ สาธารณสุขจังหวัด/ หอการค้าจังหวัด/ วิสาหกิจ ชุมชน/ มูลนิธิฯลฯ 2.2 ส่งเสริม สนับสนุนการผลิต แปรรูป วัตถุดิบสมุนไพร เป็นผลิตภัณฑ์ อาหารสัตว์หรือยาสัตว์ เครื่องดื่ม เครื่องสำอาง ฯลฯ - ผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์/ ยาสัตว์ ปริมาณ 1,000 เมตริกตัน/ จังหวัด/ ปี  - วัตถุดิบสมุนไพรคุณภาพในการ ผลิตของอุตสาหกรรม 5,000 เมตริกตัน/ จังหวัด/ ปี เกษตรจังหวัด/ ปศุสัตว์จังหวัด/ พัฒนาการจังหวัด/ หอการค้า จังหวัด/ วิสาหกิจชุมชน/ มูลนิธิฯลฯ 2.3 ศึกษาวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อเพิ่มมูลค่า พัฒนารูปแบบ ผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ ที่มี ประสิทธิภาพ ผลิตภัณฑ์สมุนไพรได้รับการวิจัยและ พัฒนา จำนวน 20 รายการ/ จังหวัด เกษตรจังหวัด/ มหาวิทยาลัย/ วิสาหกิจชุมชน/ มูลนิธิฯลฯ 2.4 จัดตั้งศูนย์สาธิตจำหน่ายและกระจายสินค้าผลิตภัณฑ์สมุนไพรชุมชน โดยผสมผสานกับกิจกรรมการบริการการแพทย์แผนไทยฯ การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ - มียอดจำหน่ายสินค้าผลิตภัณฑ์และ การบริการ 12 ล้านบาท/ จังหวัด/ ปี  - มียอดลูกค้าและผู้เข้าร่วมกิจกรรม เยี่ยมชมกิจกรรม 72,000 คน/ จังหวัด/ ปี พาณิชย์จังหวัด/ หอการค้า จังหวัด/ วิสาหกิจชุมชน

13 เป้าหมายผลลัพธ์ที่สำคัญ หน่วยงานรับผิดชอบหลัก
3 . การส่งเสริมการใช้สมุนไพรในระบบบริการสุขภาพ กิจกรรมดำเนินงาน เป้าหมายผลลัพธ์ที่สำคัญ หน่วยงานรับผิดชอบหลัก 3.1 เพิ่มมูลค่าการใช้ยาสมุนไพรใน โรงพยาบาลและหน่วยบริการ สาธารณสุขให้ได้ตามเป้าหมาย มูลค่าการใช้ยาสมุนไพร คิดเป็น ร้อยละ ๑๐ ของค่าใช้จ่าย เวชภัณฑ์ของจังหวัด หรือ มูลค่าการใช้ยาสมุนไพร เพิ่มขึ้น ร้อยละ ๒๐ ต่อปี ผู้ตรวจราชการกระทรวง สาธารณสุข/ สาธารณสุขจังหวัด/ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลทุกแห่ง/ หอการค้าจังหวัด/ วิสาหกิจ ชุมชน/ มูลนิธิฯลฯ 3.2 พัฒนา ปรับปรุงระบบการผลิตและ กระจายยาสมุนไพรให้มีความเพียงพอ ทันเวลา มีราคาต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost) ที่เหมาะสม รายการยาสมุนไพรที่มีการผลิต ร่วมกันในระดับจังหวัด/ เขต โดยใช้โรงพยาบาลที่มีการผลิต ยาสมุนไพรที่ได้มาตรฐาน GMP จำนวน 30 รายการ/ จังหวัด 3.3 ศึกษาวิจัยเพื่อประเมินและพิสูจน์ ความปลอดภัยและสรรพคุณของยา สมุนไพร ยาสมุนไพรและการบริการ การแพทย์แผนไทยได้รับการ วิจัยและพัฒนา จำนวน 20 รายการ/ จังหวัด ผู้ตรวจราชการกระทรวง สาธารณสุข/ สาธารณสุขจังหวัด/ มหาวิทยาลัย/ สถาบันการศึกษา/ วิสาหกิจชุมชน/ มูลนิธิฯลฯ

14 วาระที่ 3 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ
3.1 แนวทางการพัฒนาเมืองสมุนไพร

15 กิจกรรมดำเนินการที่สำคัญของโครงการเมืองสมุนไพร/การจัดทำแผนแม่บทแห่งชาติ
ว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย พ.ศ – 2564 (ฉบับที่ 1) (ช่วงเดือน กรกฎาคม – กันยายน 2559) แผนแม่บทฯร่างแรก วันพุธที่ 29มิ.ย. 59 เสนอคณะกรรมการอำนวยการ นายกฯ อนุมัติงบกลาง เมืองสมุนไพร ก.ค. 59 เสนอครม. ต้นสิงหาคม 59 ประชุม กก.อำนวยการ สิงหาคม 59 งานเปิดตัวแผนแม่บทฯ และโครงการ Herbal City นายกฯ มอบรางวัลผลิตภัณฑ์สมุนไพรดีเด่นแห่งชาติ PMHA ในงานมหกรรม สิงหาคม 59 สสส. อนุมัติงบประมาณสนับสนุนการขับเคลื่อนประชารัฐ กันยายน 59 4 จังหวัดดำเนินการ ก่อหนี้ผูกพัน S 1 2 3 4 5 6 7 8

16 รายละเอียดงบประมาณตาม ร่างแผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย
พ.ศ หน่วย : ล้านบาท แผนงาน/โครงการ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 รวมทั้งสิ้น โครงการพัฒนาเมืองสมุนไพร (Herbal City) 1, 1. เมืองสมุนไพรเชียงราย 27.034 17.734 17.405 96.986 2. เมืองสมุนไพรปราจีนบุรี 1, 3. เมืองสมุนไพรสกลนคร 17.000 20.000 23.000 26.000 29.000 4. เมืองสมุนไพรสุราษฏร์ธานี 22.155 20.915 30.945 20.518 20.105


ดาวน์โหลด ppt การประชุมคณะกรรมการอำนวยการ โครงการพัฒนาเมืองสมุนไพร ครั้งที่ 1/2559

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google