งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศูนย์รับส่ง-ปรึกษาโรงพยาบาลศรีสะเกษ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศูนย์รับส่ง-ปรึกษาโรงพยาบาลศรีสะเกษ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ศูนย์รับส่ง-ปรึกษาโรงพยาบาลศรีสะเกษ
เรื่องการส่งต่อผู้ป่วยมะเร็งในเครือข่ายจังหวัดศรีสะเกษ เขตบริการสุขภาพที่ 10 ประจำปีงบประมาณ 2560 นางสาวนริศร์ราพร พงษ์สุวรรณ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ

2 แนวทางการรับ-ส่งต่อนัดผู้ป่วยมะเร็งรับการรักษา
วัตถุประสงค์ เพิ่อเป็นแนวทางในการปฎิบัติงานการรับส่งต่อ นัดรับการรักษา เพื่อลดระยะเวลารอคอย ลดค่าใช้จ่ายของ ผู้ป่วยในการเดินทางมารับการรักษา เป็นศูนย์กลางในการประสานความร่วมมือการ ดูแลรักษาและการรับ – ส่งต่อผู้ป่วยมะเร็ง เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาที่รวดเร็ว ปลอดภัย ไร้รอยต่อและเกิดความพึงพอใจในการรับบริการ

3 เขตพื้นที่รับผิดชอบในเขตบริการที่10

4 ทำไม????

5 จึงจำเป็นที่ต้องมีศูนย์ประสาน

6 โครงสร้างการประสานงานเครือข่ายการส่งต่อผู้ป่วยจังหวัดศรีสะเกษ
แผนผังการให้บริการรักษาพยาบาลในระบบรับ - ส่งต่อผู้ป่วยโรงพยาบาลศรีสะเกษ โรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดศรีสะเกษ ศูนย์แพทย์ชุมชน/ศูนย์สุขภาพชุมชน สถานีอนามัยในเครือข่าย รพ.ศรีสะเกษ เกินศักยภาพ เอกชน โรงพยาบาลศรีสะเกษ เกินศักยภาพ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ หรือ สถานบริการอื่นๆ ใน จ.อุบลราชธานี / ในจังหวัดใกล้เคียง โรงพยาบาลศูนย์ หรือ สถานบริการอื่นๆ หรือที่ศักยภาพสูงขึ้น หมายเหตุ หมายถึง ระบบส่งต่อขั้นตนการรักษาปกติ หมายถึง ระบบส่งต่อข้ามขั้นตอน ตามดุลยพินิจของแพทย์ หมายถึง ระบบการประสานการส่งปรึกษาและส่งต่อตามแนวทางที่กำหนด

7 โครงสร้างเครือข่ายการส่งต่อผู้ป่วยของสถานพยาบาล ภายนอกจังหวัดศรีสะเกษ
โรงพยาบาลมะเร็ง จ.อุบลฯ โทร Fax รพ.สรรพสิทธิประสงค์ จ.อุบลฯ โทร Fax รพ.พระศรีมหาโพธิ์ จ.อุบลฯ โทร Fax สถานพยาบาลในกระทรวงสาธารณสุข ในเขตเครือข่ายบริการที่ 10 (ศรีสะเกษ อุบลฯ ยโสธร อำนาจฯ มุกดาหาร) แม่ข่าย จ.ศรีสะเกษ โรงพยาบาลศรีสะเกษ ขนาด 500 เตียง สถานพยาบาลในกระทรวงสาธารณสุขและทบวงมหาวิทยาลัย ในส่วนกลาง (ก.ท.ม.และปริมณฑล) สถานพยาบาลในกระทรวงสาธารณสุขนอกเขตเครือบริการที่ 10 (ต่างจังหวัด)

8 ฉุกเฉิน(ศูนย์ประสานส่งต่อ) ขั้นตอน ไม่ฉุกเฉิน(ศูนย์ประสานส่งต่อ)
1.การประสานข้อมูลก่อนส่งต่อไปที่อื่น 1.1ER/IPD ส่งข้อมูลผู้ป่วยการส่งต่อ 1.2 ศูนย์ประสานส่งต่อ ประสานข้อมูลไปสถานบริการปลายทาง และแจ้งผลการประสานส่งต่อให้ ER / IPD รับทราบ 1.3 ER / IPD เตรียมพร้อมนำส่งผู้ป่วย ใบ บส. 08 เอกสารการรักษาอื่นๆ เช่น ฟิล์ม/ใบชันสูตร/EKG 1.1OPD/IPD(มะเรีง/รพ.สปส) ส่งข้อมูลผู้ป่วยการส่งต่อให้ ศูนย์ปรึกษาเพื่อรับวันนัดหมายก่อนส่งต่อ 1.2 ศูนย์ส่งปรึกษา ประสานข้อมูลไปสถานบริการปลายทาง และแจ้งผลการประสานส่งต่อให้ ER / IPD รับทราบ วันนัดหมายรับบริการ ผลการส่งปรึกษา 1.3 OPD/IPD(มะเรีง/รพ.สปส) เตรียมพร้อมนำส่งผู้ป่วยไปรับการรักษาตามวันที่รับการนัดหมายจากศูนย์ส่งปรึกษา ใบ บส.08 เอกสารการรักษาอื่นๆ เช่น ฟิล์ม / EKG / ใบนัด วันนัดหมายพบแพทย์ 2.การนำส่งผู้ป่วย - เดินทางโดยรถ Refer 2. การนำส่งผู้ป่วย - เดินทางไปเองโดยได้รับนัดหมายหรือข้อมูลขั้นตอนการรับบริการจากโรงพยาบาลปลายทาง 3.การส่งต่อ - ส่งผู้ป่วยที่ ER รพ.ปลายทาง/ตามที่ระบุ - ผู้ป่วยไปตามวันนัดเพื่อรับบริการที่ OPD / IPD ตามที่ระบุในใบนัดหมาย แพทย์ รพ.ศรีสะเกษ ส่งต่อผู้ป่วยไปรักษาที่อื่น รพ.ศรีสะเกษบันทึกข้อมูล Refer ให้ครบถ้วนก่อนคลิกส่ ง Refer ใน Himpro หรือ ทางโทรศัพท์ FAX. Facebook / line รพ.ศรีสะกษ คลิกสถานะผู้ป่วยใน E-Refer พิมพ์ บส.08 จาก Himpro 2 ใบ นำส่งพร้อมผู้ป่วย นำส่งผู้ป่วยที่ รพปลายทาง พร้อม บส.08 และเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง

9 การเตรียมตัวการส่งต่อผู้ป่วยเพื่อบริการที่โรงพยาบาลศรีสะเกษ
โรค/แผนก ส่งทั้งหมด /คน ส่งปรึกษา ฉายรังสี MRI MRI/คน 1.มะเร็งหู คอ จมูก 85 95 .8 131 2.มะเร็งเต้านม 72 71 31 11 3.มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก 25 13 15 4.มะเร็งกระเพาะอาหาร 10 2 1 5. มะเร็งถุงน้ำดี 5 6. มะเร็งตับ 3 48 7.มะเร็งท่อน้ำดี 8 75 7. มะเร็งปอด 4 26 8. มะเร็งศัลยกรรมกระดูก 7 38 9. มะเร็งระบบทางเดินปัสสาวะ 113 10. มะเร็งโรคเลือด 23 11. อายุรกรรมอื่นๆ 211 12.ศัลยกรรมทั่วไป 132 13. สูติ-นรีเวช 63 14. กุมารเวชกรรม 100 15. มะเร็งปากมดลูก 21 6 รวม 343 975

10 การประชุมสัมมนาระหว่างเครือข่ายเชิงปฎิบัติการระบบส่งต่อผู้ป่วยโรคมะเร็งในเขตบริการที่ 10

11 การประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ ปัญหา-อุปสรรค ในภาพรวมของจังหวัดศรีสะเกษ
การประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ ปัญหา-อุปสรรค ในภาพรวมของจังหวัดศรีสะเกษ

12 โครงการพัฒนาเครือข่ายดูแลรักษาและส่งต่อผู้ป่วยมะเร็งในจังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ ๒๕๕๙

13 ขั้นตอนการประสานงานระหว่างเครือข่าย

14 ปัญหาและอุปสรรค

15 ปัญหาที่พบ (ต่อ) การส่งผู้ป่วยมะเร็งเต้านมมารับการรักษา ด้วยการฉายรังสี (มักส่งเมื่อให้เคมีครบแล้ว) ผู้ป่วยที่มีประวัติการผ่าตัดไม่มีแนบใบ Operative record มาด้วย

16 เพื่อลดระยะเวลา รอคอย ลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง

17 ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ผู้ป่วยได้พบแพทย์เพื่อวางแผนการ รักษาและ/หรือจำลองแผนการรักษา ในวันแรกที่มาโรงพยาบาล ( First Visit First Treatment) ลดระยะเวลารอคอยในการรับการ รักษาและได้รับการรักษาในเวลาที่ เหมาะสมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ รักษา ลดภาระค่าใช้จ่ายในการเดินทางของ ผู้ป่วย ลดความแออัดในโรงพยาบาลของผู้ มารับบริการ

18 แนวทางการประสานงานระหว่างเครือข่ายมะเร็ง

19 ผู้ป่วยฉุกเฉินรังสีรักษา
-Brain metastasis -Spinal cord compressin -SVC obstruction -Tumor Bleeding -dyspnea -cancer pain

20 เอกสารที่จำเป็นในการส่งต่อผู้ป่วยมะเร็งทั่วไป
ใบส่งตัวพร้อมประวัติการรักษา 2.สำเนาใบรายงานผลทางพยาธิวิทยาทุกใบที่เกี่ยวข้อง ฟิลม์ X-ray /CT /MRI /Bone scan พร้อมผล อ่าน ( ถ้ามี ) ใบรายงานผลทางปฎิบัติการโดยเฉพาะที่มีความเกี่ยวข้องกับโรค ของผู้ป่วย ใบรายงานการผ่าตัด Slide ชิ้นเนื้อ ( ในกรณีที่ผลอ่าน Patho ไม่ชัดเจน ) ขอสำเนา Pathology report

21 วินิจฉัย brain metastasis
รอคิว RT < 48 ชม ประเมินแรกรับ: neuro sign ( GCS, motor power) ประเมินneuro sign ระหว่างรักษาทุก 1 วัน Alarm : GCS drop >3 , progress weakness Bed sore Treatment Whole brain RT Dexamethasone กายภาพ ประเมิน neuro sign , bed sore ก่อนจำหน่าย ดูแลต่อเนื่อง Palliative care : HHC Specific cancer treatment

22

23

24

25 สรุปสถิติการรับบริการประสานนัดรับการรักษา
ปีงบประมาณ จำนวนการให้บริการ(ราย) ปีงบประมาณ 2557 272 ปีงบประมาณ 2558 348 ปีงบประมาณ 2559 ( ตุลาคม มิถุนายน 59 ) 268

26 ตารางการปฏิบัติงานของแพทย์รังสีรักษาร.พ.มะเร็งอุบลราชธานี
แพทย์ วัน จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์ นพ.เทวินทร์ โชติธนประสิทธิ์ มะเร็งทางนรีเวช มะเร็งระบบอื่นที่ไม่ใช่นรีเวช SIMULATION HDR ตรวจระหว่างฉาย - รับผู้ป่วยฉุกเฉินรังสีรักษา/ผู้ป่วยใหม่รังสีรักษาสลับกันคนละสัปดาห์ตามตาราง -คนไข้ใหม่ทุกวันศุกร์ให้ตรวจวันที่แพทย์นั้นออกตรวจ OPD หมายเหตุ ผู้ป่วยฉุกเฉินรังสีรักษา -Brain metastasis -Spinal cord compression -SVC obstruction -Tumor bleeding -Dyspnea -Cancer pain รับผู้ป่วยFaxรายใหม่ (ไม่ฉุกเฉิน)SIM(บ่าย) นพ.ธนุตม์ ก้วยเจริญพานิชก์ พญ.อัจฉริยาพร ทองเถาว์ ตรวจระหว่างฉาย CCRT (รายเก่า) 3D conturing (รายใหม่) พญ.สุภัชชา เขียวหวาน นพ.พงศธร ศุภอรรถกร เช้า ตรวจผู้ป่วยเก่า ตารางการปฏิบัติงานของแพทย์รังสีรักษาร.พ.มะเร็งอุบลราชธานี

27 ขอบคุณคะ


ดาวน์โหลด ppt ศูนย์รับส่ง-ปรึกษาโรงพยาบาลศรีสะเกษ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google