ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล พ.ศ. 2560-2565
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
2
เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ
แผน 20 ปี กสธ. เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วม และยั่งยืน O riginality P eople centered approach M astery H umility MoPH เป้าหมาย ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน
3
แผน 20 ปี กสธ. กรอบแนวคิด ปฏิรูประบบ Phase 1 (2560-2564)
ประเทศไทย 4.0 นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และการปฏิรูปประเทศไทย ด้านสาธารณสุข แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) การบูรณาการ (Integrated) องค์รวมและผสมผสาน (Holistic & Comprehensive) การมีส่วนร่วมของพหุภาคี (Multisectoral) ประสิทธิภาพและประสิทธิผล กรอบแนวคิด ทิศทางการวางแผน 20 ปี (4 Phase) ปฏิรูประบบ Phase 1 ( ) สู่ความยั่งยืน Phase3 ( ) สร้างความเข้มแข็ง Phase 2 ( ) เป็น 1 ใน 3 ของเอเชีย Phase 4 ( )
4
4 Excellence Strategies (16 แผนงาน 48 โครงการ)
แผน 20 ปี กสธ. 4 Excellence Strategies (16 แผนงาน 48 โครงการ) 1. พัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย 2. การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3. ความปลอดภัยด้านอาหารและลดปัจจัยเสี่ยง ต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม 1. การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ 2. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 3. ศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ 4. ศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ/เขตเศรษฐกิจพิเศษ P&P Excellence Service Excellence People Excellence Governance Excellence 1. การวางแผนความต้องการอัตรากำลัง 2. การผลิตและพัฒนากำลังคน 3. การพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการ กำลังคนด้านสุขภาพ 4. การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนและ ภาคประชาสังคมด้านสุขภาพ 1. ระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ 2. ระบบหลักประกันสุขภาพ 3. ความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์และ การคุ้มครองผู้บริโภค 4. ระบบธรรมาภิบาล
5
People Excellence งบดำเนินงาน 500 ล้านบาท/ปี
โครงการ/งบประมาณ People Excellence งบดำเนินงาน 500 ล้านบาท/ปี สอดคล้องปฏิรูป – 9 โครงการ 1. การวางแผนความต้องการอัตรากำลัง (HRP) 2. การผลิตและพัฒนากำลังคน (HRD) 3)โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการวางแผนกำลังคน 1) โครงการผลิตกำลังคนด้านสุขภาพ 2) โครงการพัฒนาทักษะ hard skill และ soft skill 3) โครงการพัฒนาบุคลากรสาธารณสุขด้าน Talent Management 2) โครงการจัดทำ แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติงาน และติดตามประเมินผลด้านกำลังคน 1)โครงการคาดการณ์และวิเคราะห์อัตรา กำลังบุคลากรทั้งในระดับมหภาคและจุลภาค สป.(สบช.) สป.(สบช./ บค.) สป.(สำนักวิชาการ/สวรส.) สป.(สบช./บค.) สป.(บค.) สป.(บค./กพร.) 3. การพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการ กำลังคนด้านสุขภาพ (HRM) 4. การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนและ ภาคประชาสังคมด้านสุขภาพ 1) โครงการบริหารจัดการกำลังคน 2) โครงการสร้างขวัญและแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน 1) โครงการพัฒนาเครือข่าย อสม. และ อปท. 2)โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชนจัดการสุขภาพด้วยตนเอง 3)โครงการพัฒนาเครือข่าย 3) โครงการบริหาร ผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System) สบส. สป.(ICT) สป.(บค./สนย.) สป.(บค./สนย.) สบส. สบส.
6
เป้าหมายของการบริหารทรัพยากรบุคคล
สรรหา พัฒนา รักษาไว้ ใช้ประโยชน์ จัดสรรทรัพยากร ให้เหมาะสม ส่งเสริมให้ทำงานเต็มศักยภาพ หาคนดี คนเก่ง เข้ามาทำงาน พัฒนาให้เป็นคนดี คนเก่ง ยิ่งขึ้น รักษาให้อยู่นานๆ
7
แกนหลักการบริหารทรัพยากรบุคคล
หลักสมรรถนะ (Competency) หลักผลงาน (Performance) หลักคุณธรรม (Merit) หลักคุณภาพชีวิต (Work Life Quality) กระจายความรับผิดชอบในการบริหารทรัพยากรบุคคล HR Decentralization สำนักงาน ก.พ. 10 กุมภาพันธ์ 2548
8
กรอบมาตรฐานความสำเร็จด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
คุณภาพชีวิตและความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน ประสิทธิผลของ การบริหารทรัพยากรบุคคล ความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมในการทำงาน และระบบงาน การรักษาไว้ซึ่งข้าราชการที่จำเป็นต่อการบรรลุ เป้าหมาย สวัสดิการและสิ่งอำนวยความสะดวก ความพึงพอใจต่อนโยบาย/มาตรการ .ในการบริหารทรัพยากรบุคคล ความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้ปฏิบัติงาน ทุกระดับ ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ การเรียนรู้และพัฒนา ระบบการบริหาร ผลการปฏิบัติงาน นโยบาย แผนงาน และมาตรการด้านทรัพยากรบุคคล การวางแผนและบริหารกำลังคน การบริหารกำลังคนกลุ่มที่มีทักษะและสมรรถนะสูง ความพร้อมรับผิด ด้านการบริหาร- ทรัพยากรบุคคล การสร้าง พัฒนา และสืบทอดตำแหน่ง ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล การตัดสินใจบนหลักความสามารถ หลักคุณธรรมหลักนิติธรรม หลักสิทธิมนุษยชน กิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล ระบบฐานข้อมูล ความโปร่งใสของกระบวนการ และพร้อมรับการตรวจสอบ ความคุ้มค่าของค่าใช้จ่ายในกิจกรรมการบริหาร ทรัพยากรบุคคล เทคโนโลยีเพื่อการบริหารทรัพยากรบุคคล
9
แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี ประจำปี 2560 – 2565
วิสัยทัศน์ “ เป็นเลิศด้านบริหาร ได้มาตรฐานด้านบริการ” พันธกิจ พัฒนาหน่วยงานทั้งหน่วยบริหารและหน่วยบริการ ให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน 2. สนับสนุนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพในรูปแบบของเครือข่ายเพื่อให้ประชาชนเข้าถึง บริการทุกระดับ 3 พัฒนาสถานบริการตามแนวชายแดนเพื่อรองรับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 4.สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนาสุขภาพภาคประชาชน
10
ยุทธศาสตร์ด้านบริหารทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล เน้นการวางแผนการบริหารอัตรากำลังและปรับอัตรากำลังให้เหมาะสมเพียงพอกับภารกิจ พัฒนาระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งในส่วนของเครื่องมือ วิธีการและผู้ประเมิน เพื่อให้สามารถบริหารงานบุคคลในการขึ้นเงินเดือน พัฒนา หรือเลื่อนตำแหน่งที่เหมาะสม พัฒนาผู้บริหารให้มีภาวะผู้นำ มีวิสัยทัศน์และพฤติกรรมที่สอดคล้องกับการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐแนวใหม่ สร้างและบริหารจัดการฐานข้อมูลกำลังคนให้เป็นปัจจุบัน สร้างสภาพแวดล้อมต่อการปฏิบัติงาน และจัดหาสวัสดิการรูปแบบใหม่ๆ ที่จะทำให้บุคลากรทำงานอย่างมีความสุขและงานบรรลุผลตามเป้าหมาย ปรับแผนพัฒนาบุคลากรให้สอดคล้องกับต้นแบบสมรรถนะ และยุทธศาสตร์ขององค์กร รวมถึงจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan: IDP) ที่เน้นการพัฒนาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง สร้างบุคลากรผู้รับผิดชอบงานบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
11
ยุทธศาสตร์ด้านบริหารทรัพยากรบุคคล
5 มิติ 5 ประเด็นยุทธศาสตร์ มิติที่ 1 : ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Alignment) มิติที่ 2 : ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Operational Efficiency) มิติที่ 3 : ประสิทธิผลของการบริหารทรัพยากรบุคคล (HRM HRD HRE HRH Program Effectiveness) มิติที่ 4 : ความพร้อมรับผิดด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Accountability) มิติที่ 5 : คุณภาพชีวิตและความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน (Quality of Work Life) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การกำหนดกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล (Strategy Development & leadership) เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการบริหารงานและการเปลี่ยนแปลง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การบริหารจัดการระบบบริหารทรัพยากรบุคคล (Process Management) และพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านทรัพยากรบุคคลให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้เกิดประสิทธิผลเพื่อรองรับภารกิจและวิสัยทัศน์ของสนง. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : การจัดการระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 : การเสริมสร้างคุณภาพชีวิตและความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน
12
ยุทธศาสตร์ด้านบริหารทรัพยากรบุคคล
19 เป้าประสงค์ มิติที่ 1 : ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Alignment) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 : การกำหนดกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล (Strategy Development & leadership) เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการบริหารงานและการเปลี่ยนแปลง เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่ 1.1 : มีการวางแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลที่สอดคล้องและสนับสนุนยุทธศาสตร์สนง.สสจ.อบ. 1.2 มีการวางแผนและบริหารกำลังคน (Workforce Planning and Deployment) ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ 1.3 : มีการบริหารกำลังคน เพื่อดึงดูดให้ได้มา พัฒนา และรักษาไว้ของกลุ่มข้าราชการ และผู้ปฏิบัติงานที่มีทักษะหรือสมรรถนะสูง 1.4 : มีแผนสร้างความต่อเนื่องในการบริหารราชการ 1.5 : มีการสร้าง พัฒนาผู้บริหาร (Leadership) ทุกระดับ มิติที่ 2 : ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Operational Efficiency) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 : การบริหารจัดการระบบบริหารทรัพยากรบุคคล (Process Management) และพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านทรัพยากรบุคคลให้มีประสิทธิภาพสูงสุด 2.1 : พัฒนา ปรับปรุงกระบวนงานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล 2.2 : พัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล 2.3 : มีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในกิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Automation)
13
ยุทธศาสตร์ด้านบริหารทรัพยากรบุคคล
19 เป้าประสงค์ มิติที่ 3 : ประสิทธิผลของการบริหารทรัพยากรบุคคล (HRM HRD HRE HRH Program Effectiveness) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้เกิดประสิทธิผลเพื่อรองรับภารกิจและวิสัยทัศน์ของสนง. เป้าประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่ 3.1 : พัฒนาทรัพยากรบุคคลทุกระดับอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 3.2 : มีการรักษาและจูงใจบุคลากรที่มีศักยภาพสูงไว้ในองค์กร 3.3 : พัฒนานักวิจัยให้มีการผลิตผลงานวิชาการและนวัตกรรมภายในองค์กรเพื่อสร้างวัฒนธรรม บรรยากาศ และระบบการทำงานให้เกิดการเรียนรู้ 3.4 : พัฒนาการเรียนรู้และการทำงานอย่างต่อเนื่อง 3.5 : มีระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System) ที่เน้นประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุ้มค่า 3.6 : สร้างหน่วยงานและบุคลากรด้าน HR ให้มีความเข้มแข็ง มิติที่ 4 : ความพร้อมรับผิดด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล (HR Accountability) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : การจัดการระบบบริหารทรัพยากรบุคคลให้มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้ 4.1 : การรับผิดชอบต่อการตัดสินใจและผลของการตัดสินใจด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล 4.2 : มีความโปร่งใสของกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล มิติที่ 5 : คุณภาพชีวิตและความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน (Quality of Work Life) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 : การเสริมสร้างคุณภาพชีวิตและความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน 5.1 : สร้างความพึงพอใจของบุคลากรต่อการทำงาน 5.2 : มีการจัดสวัสดิการและสิ่งอำนวยความสะดวกเพิ่มเติมจากสวัสดิการตามกฎหมาย 5.3 : สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคลากรภายในสนง.
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.