ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สำนักสนับสนุนคุณภาพและมาตรฐานหน่วย บริการ
เกณฑ์การตรวจประเมินหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ ตามประกาศเกณฑ์ขึ้นทะเบียนฯ ปี ๒๕๕๘ สำนักสนับสนุนคุณภาพและมาตรฐานหน่วย บริการ
2
หน่วยบริการประจำ ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ
หน่วยบริการปฐมภูมิ เบ็ด เสร็จ ทั่วไป หน่วยบริการร่วมให้บริการ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ เฉพาะด้าน ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน
3
ร้อยละผลขึ้นทะเบียนหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ
4
เกณฑ์ที่ได้คะแนน 0 (ไม่ผ่าน) 5 อันดับแรก ปี 2558
เกณฑ์ที่ได้คะแนน 0 (ไม่ผ่าน) 5 อันดับแรก ปี 2558 OR - มีศัลยแพทย์ที่มีวุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติแสดง ความรู้ความชำนาญจากแพทยสภา ปฏิบัติงานเต็มเวลา อย่างน้อย 1 คน OR - สำหรับการผ่าตัดทั่วไป มีวิสัญญีแพทย์ 1 ต่อ 2 ห้อง ผ่าตัด และวิสัญญีพยาบาล 2 คนต่อ 1 ห้องผ่าตัดขณะ ปฏิบัติงาน OR - อุปกรณ์ เครื่องมือ OR - มีห้องหรือเขตพักฟื้นเป็นสัดส่วนในเขตกึ่งปลอด เชื้อของอาคารผ่าตัด OR - มีระบบสำรองไฟฟ้าฉุกเฉิน
5
เกณฑ์ที่ได้คะแนน 1 (ผ่านแบบมีเงื่อนไข) 5 อันดับแรก ปี 2558
Phar - จัดบุคลากร ขึ้นปฏิบัติงานประจำ ในลักษณะของเวรผลัดได้ตลอด 24 ชั่วโมง X-rays - จัดบุคลากร ขึ้นปฏิบัติงานประจำ ในลักษณะของเวรผลัดได้ตลอด 24 ชั่วโมง Lab - จัดบุคลากร ขึ้นปฏิบัติงาน ให้บริการทางเทคนิคการแพทย์ ในลักษณะของเวรผลัดได้ตลอด 24 ชั่วโมง X-rays - ชุดอุปกรณ์ยา และเวชภัณฑ์ในการช่วยฟื้นคืนชีพ อย่างน้อยหนึ่งชุด IPD - จำนวนเตียงในหอผู้ป่วยรวมไม่เกิน 30 เตียง ต่อหอผู้ป่วย และระยะห่างระหว่างเตียงไม่น้อยกว่า 1 เมตร ระยะห่างระหว่างปลายเตียงไม่น้อยกว่า 2.5 เมตร สามารถนำเปลเข็นเข้าเทียบเตียงผู้ป่วยได้โดยสะดวก
6
เกณฑ์การตรวจหน่วยบริการรับส่งต่อ
ปี2555 ปี2558 หมวด 1 ศักยภาพในการรับการส่งต่อ 4 หมวด 1 ศักยภาพการให้บริการ 13 หมวด 2 การจัดการทรัพยากรบุคคล 10 หมวด 2 การจัดระบบบริหารจัดการ หมวด 3 การบริหารจัดการในองค์กร 8 หมวด 3 การกำกับและการพัฒนาคุณภาพ 5 หมวด 4 การจัดระบบการให้บริการ 17 หมวด 4 อาคาร สถานที่ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย หมวด 5 การกำกับและพัฒนาคุณภาพ หมวด 6 อาคารสถานที สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย 6 55 ข้อ 36 ข้อ แผนก 1 บริการผู้ป่วยนอก 9 แผนก 2 บริการอุบัติเหตุและฉุกเฉิน 15 14 แผนก 3 บริการผู้ป่วยใน 11 แผนก 4 บริการห้องคลอด แผนก 5 บริการห้องผ่าตัด แผนก 6 บริการทันตกรรม แผนก 7 บริการเภสัชกรรม 12 แผนก 8 บริการเทคนิคการแพทย์ แผนก 9 บริการรังสีวินิจฉัย แผนก 10 บริการหอผู้ป่วยหนัก /เวชบำบัดวิกฤต 7 - แผนก 11 กายภาพบำบัด 96 101
7
สิ่งที่เปลี่ยนแปลง
8
เกณฑ์หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ (ประกาศเกณฑ์ฯข้อ 12-18)
12 ต้องมีศักยภาพในการรองรับการให้บริการสาธารณสุข 13 ต้องสามารถให้บริการ ตามมาตรฐานการให้บริการสาธารณสุข ได้ตลอด 24 ชม. 14 (1) การจัดอัตรากำลัง 14 (2) การพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ให้มีศักยภาพเพียงพอในการให้บริการ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ หมวด 1 ศักยภาพเพื่อการเข้าถึง หมวด 2 การจัดระบบบริการจัดการ หมวด 3 กำกับและการพัฒนาคุณภาพ หมวด 4 อาคาร สถานที่ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย 17 สถานบริการที่ขอขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ ต้องมี อาคาร สถานที่ สิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย 15.2 มีระบบสารสนเทศที่สามารถเชื่อมต่อ ส่งข้อมูลได้อย่างถูกต้อง และทันเวลา 16.1 มีระบบคุ้มครองสิทธิอย่างครอบคลุม 16.4 มีระบบเวชระเบียนที่ได้มาตรฐาน 15.1 มีระบบประกันคุณภาพทั้งองค์กร 16.2 มีจัดระบบบริการเป็นไปตามมาตรฐาน 16.3 มีระบบควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ 16/09/61 ชี้แจงเกณฑ์ขึ้นทะเบียน หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ
9
เกณฑ์หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ (ประกาศเกณฑ์ฯข้อ 12-18)
แผนกที่ 1 OPD แผนกที่ 2 ER แผนกที่ 3 IPD แผนกที่ 4 LR แผนกที่ 5 OR แผนกที่ 6 Dent แผนกที่ 7 Phar แผนกที่ 8 LAB แผนกที่ 9 RT แผนกที่ 10 ICU แผนกที่ 11 PT 16/09/61 ชี้แจงเกณฑ์ขึ้นทะเบียน หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ
10
แก้ไข หลักเกณฑ์การพิจารณาจากเดิม 100 เตียง เป็น 90 เตียง โดยอ้างอิงตามกฎ กระทรวงฯ ปี 2558 ที่กำหนดให้รพ.ตั้งแต่ 90 เตียงขึ้นไปเป็นรพ.ขนาดใหญ่ ต่ำกว่าหรือเท่ากับ 90 เตียง ไม่ประเมิน แผนก 10 หอผู้ป่วยหนัก ต่ำกว่าหรือเท่ากับ 30 เตียง ไม่ประเมิน แผนก 5 ห้องผ่าตัด
11
การกำหนดค่าคะแนนในแต่ละข้อเกณฑ์
2 = ผ่าน (เป็นไปตามเกณฑ์) 1 = ผ่านแบบมีเงื่อนไข(อนุโลมให้ผ่าน) 0 = ไม่ผ่าน 8 = ไม่ได้จัดบริการ
12
แนวทางการสรุปผลการตรวจประเมินหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ
ผลการประเมิน ผลการพิจารณา กลุ่มที่ 1 มีคะแนน เป็น 2 ทุกข้อ หน่วยบริการมีคุณลักษณะเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด กลุ่มที่ 2 มีคะแนน 2 อยู่ระหว่าง % และมีข้อคะแนน 0 </= 10% หน่วยบริการต้องจัดทำแผนและดำเนินการพัฒนา กลุ่มที่ 3 มีคะแนน 2 อยู่ระหว่าง % และมีข้อคะแนน 0 > 10% หน่วยบริการต้องจัดทำแผนและดำเนินการพัฒนาปรับปรุงแก้ไข ภายในเวลาที่กำหนด กลุ่มที่ 4 มีคะแนน 0 ในเกณฑ์ที่กำหนด หรือ มีข้อที่มีคะแนน 2 < 50% หน่วยบริการมีคุณลักษณะต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งอาจส่งผลต่อคุณภาพบริการ
13
กำหนดข้อเกณฑ์ที่เป็น 0 ไม่ได้ หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ
เกณฑ์หน่วยบริการที่รับการส่งต่อ เรื่อง ER ค - 1 ต้องมีแพทย์ปฏิบัติงานประจำที่แผนกฉุกเฉินอย่างน้อย 1 คน ตลอด 24 ชั่วโมง ER อ - 2 มีอุปกรณ์ช่วยชีวิตฉุกเฉิน พร้อมใช้งาน ประจำไว้ในหน่วยฉุกเฉิน IPD อ - 2 มีรถเข็นพร้อมอุปกรณ์ฉุกเฉิน (Emergency Cart) ประจำหอผู้ป่วย
14
หมวดที่ 1 ศักยภาพการให้บริการ
ม.1-1 ระบบการประสานส่งต่อที่ครอบคลุมทั้งเครือข่าย>>ระบบ คน data M&E ม.1-2 การจัดบริการแยกเป็นแผนกบริการ >>17 แผนก** OR ICU ม.1-3 ระบบนัดหมาย ม.1-4 ระบบรองรับการให้บริการกรณีอุบัติเหตุหรือกรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน >>แผน อบรม อุปกรณ์ ซ้อมแผน ประเมินและปรับปรุงแผน ม.1-5 ระบบการรับผู้ป่วยเพื่อการดูแลต่อเนื่อง>> มอบหมาย flowchart Guidline checklist ม.1-6 ระบบส่งผู้ป่วยกลับเพื่อการดูแลต่อเนื่อง ม.1-7 ระบบส่งผู้ป่วยกลับเพื่อการรักษาต่อเนื่องกรณีเกินศักยภาพ
15
หมวดที่ 1 ศักยภาพการให้บริการ
ม.1-8 จัดบุคลากรขึ้นปฏิบัติงานประจำ ทุกแผนกที่จัด ให้บริการ เวรผลัดครบ 24 ชม. ม.1-9 มีแพทย์ประจำ ในสัดส่วน 1: 15,000 คน (คิดแยกจาก อัตรากำลังของหน่วยบริการประเภทอื่นๆ ) ม.1-10 มีพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานประจำ ม.1-11 หน่วยบริการ 90 เตียงขึ้นไป มีแพทย์ครบ 4 สาขาหลัก ม.1-12 การพัฒนาศักยภาพบุคลกร ม.1-13 ระบบงานเภสัชกรรม 1-10 สัดส่วนของ RN : PT ปรับไปไว้ในแผนก
16
หมวดที่ 2 การจัดระบบบริหารจัดการ
2.1 ระบบคุ้มครองสิทธิ (เหมือนเดิม) ม มีแนวทางปฏิบัติการคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย อย่างครอบคลุมและทั่วถึงทั้งองค์กร ม มีแนวทางปฏิบัติผู้ใช้บริการทราบชื่อผู้ ให้บริการดูแลรักษาในทุกหน่วยงาน ม มีแนวทางปฏิบัติ ผู้ใช้บริการ ทราบ ข้อมูลการเจ็บป่วย แนวทาง/ผลการรักษา และ ค่าใช้จ่าย ม มีช่องทางให้ผู้ใช้บริการแสดงความ คิดเห็น
17
หมวดที่ 2 การจัดระบบบริหารจัดการ
2.2 ระบบการสื่อสาร (เหมือนเดิม) ม มีอุปกรณ์และวิธีปฏิบัติในการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสาร ภายในหน่วย บริการ ม มีอุปกรณ์และวิธีปฏิบัติในการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสาร ภายในเครือข่าย หน่วยบริการ
18
หมวดที่ 2 การจัดระบบบริหารจัดการ
2.3 ระบบเวชระเบียน (เหมือนเดิม) ม มีสถานที่/อุปกรณ์เก็บที่เหมาะสม / ระบบป้องกันข้อมูลสูญหาย/เก็บข้อมูลใน รูปแบบ อิเล็กทรอนิกส์ ม มีบุคลการด้านเวชสถิติ อย่างน้อย 1 คน ม มีบันทึกเวชระเบียนครบถ้วน ม มีระบบบริการเวชระเบียนตลอด 24 ชั่วโมง ม มีการจัดทำรายงาน และนำมาพัฒนา คุณภาพ
19
หมวดที่ 2 การจัดระบบบริหารจัดการ
ม 2.4 มีผู้รับผิดชอบงานประกันสุขภาพ ม 2.5 มีระบบข้อมูลสารสนเทศที่สามารถ จัดเก็บข้อมูล และส่งให้ สปสช.ตามที่ กำหนด ...CPP 2.5 ปรับโปรแกรม ให้มีการคีย์ CPP
20
หมวดที่ 3 การกำกับและพัฒนาคุณภาพ
ม 3.1 มีการพัฒนาคุณภาพด้วยระบบ บริหารคุณภาพ ม 3.2 มีคู่มือ/แนวทางในการดูแลโรคที่ พบบ่อยหรือโรคที่เป็นปัญหาของพื้นที่ ม 3.3 มีคณะทำงานบริหารความเสี่ยง ม 3.4 มีการค้นหาและป้องกันความเสี่ยง ทางด้านคลินิก/ ด้านทั่วไป ม 3.5 มีระบบการควบคุมและป้องกัน การติดเชื้อ
21
หมวดที่ 4 อาคาร สถานที่ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย
หมวดที่ 4 อาคาร สถานที่ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย ม 4.1 มีการจัดสถานที่อำนวยความสะดวก สะอาดและปลอดภัย ม 4.2 มีการจัดการความสะอาดของสถานที่ และการควบคุมปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ที่มีผล ต่อสุขภาพ ม 4.3 การป้องกันและความปลอดภัยด้าน อัคคี และภัยธรรมชาติ ม 4.4 ระบบสาธารณูปโภคและระบบสำรอง เพื่อรองรับสถานการณ์ฉุกเฉิน ม 4.5 มีระบบการกำจัดของเสียที่เหมาะสม
22
แผนก 1 บริการผู้ป่วยนอก
แผนก 1 บริการผู้ป่วยนอก สถานที่ ตำแหน่ง การจัดแบ่งพื้นที่ พื้นที่ห้องตรวจเพียงพอ ที่พักคอยตรวจ บุคลากร แพทย์ประจำ ทุกห้องตรวจ แพทย์เฉพาะทาง เฉพาะที่เปิดให้บริการ RN1:100 RN : non RN60:40 อุปกรณ์ ชุดตรวจโรค ประจำแต่ละห้องตรวจ รถเข็นพร้อมอุปกรณ์ฉุกเฉิน
23
แผนก 1 บริการผู้ป่วยนอก
แผนก 1 บริการผู้ป่วยนอก OPD ส3 พื้นที่ห้องตรวจ (ตัดขนาดห้อง 2.5*3 เมตร) แนวทางการพิจารณา พท.ในแต่ละห้องตรวจเพียงพอ จัดวางอุปกรณ์ต่างๆ และมี 1 ห้อง เอาเปลนอนเข้าได้ OPD ค1 แพทย์ประจำห้องตรวจที่เปิดบริการ (เดิม ค่าเฉลี่ย 12 คน/ชม. ในชม.เร่งด่วน) แนวทางการพิจารณา 1. มีแพทย์ประจำห้องตรวจ 2. มีแนวทางการบริหารจัดการให้ผู้รับบริการได้รับการตรวจในเวลาที่เหมาะสม 2 = เป็นไปตามเกณฑ์ 1 = มีแพทย์ แต่ไม่มีแนวทาง 0 = ไม่มีแพทย์ 2 = เป็นไปตามเกณฑ์ 1 = ต่ำกว่าเกณฑ์แต่พออนุโลมได้ 0 = ต่ำกว่าเกณฑ์แต่พออนุโลมไม่ได้
24
แผนก 2 บริการอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
แผนก 2 บริการอุบัติเหตุและฉุกเฉิน สถานที่ จุดที่ตั้ง ทางรถวิ่งรับส่งผู้ป่วย จำนวนเตียง อย่างน้อย 3 เตียง พื้นที่เพียงพอในการรับอุบัติเหตุหมู่ บุคลากร แพทย์ประจำ พยาบาลประจำ HRD อัตรากำลังสำรองในการรับอุบัติเหตุหมู่ อุปกรณ์ อุปกรณ์ช่วยชีวิตฉุกเฉินพร้อมใช้งาน ชุดตรวจโรคทั่วไป เครื่องมือทางการแพทย์/เครื่องมือสำหรับเวชหัตถการฉุกเฉินพร้อมใช้งาน รถ พยาบาล
25
แผนก 2 บริการอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
แผนก 2 บริการอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ER ค2 RN ประจำอย่างน้อย 1 คน และเป็นตามมาตรฐานวิชาชีพ แนวทางการพิจารณา เวรผลัด ตลอด 24 ชม. RN: Non RN 60:40 RN: ผู้ป่วย 1:10 มีพยาบาลเฉพาะทางการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุฉุกเฉิน อย่างน้อย 1 คน 2 = เป็นไปตามเกณฑ์ 1 = 1-3 ผ่าน แต่ไม่มีข้อที่ 4 0 = ไม่มีทีมพยาบาลครบ 24 ชม.
26
แผนก 3 บริการผู้ป่วยใน แผนก 3 บริการผู้ป่วยใน
แก้ไข หลักเกณฑ์การพิจารณา รพ.ที่มีขนาดต่ำกว่าหรือเท่ากับ 90 เตียง จากเดิม 100 เตียง ให้สุ่มบางหอผู้ป่วย รพ.มากกว่า 90 เตียง ให้สุ่มตรวจ 4 แผนกหลัก แผนกละ 1 หอ และใช้คะแนนจากหอผู้ป่วยที่ต่ำ ที่สุดเป็นหลัก
27
แผนก 3 บริการผู้ป่วยใน สถานที่ บุคลากร อุปกรณ์ จำนวนเตียง
จัดพื้นที่ใช้สอยภายในหอผู้ป่วย ระยะห่าง บุคลากร ผู้ป่วยมีแพทย์เจ้าของดูแล 90 เตียงขึ้นไป มีแพทย์ 4 สาขาหลัก ปฏิบัติงาน 24 ชม. น้อยกว่า หรือเท่ากับ 90เตียง มีแพทย์ IPD อย่างน้อย 1 คน ตลอด 24 ชม. RN 1:6 ในทุกเวร อุปกรณ์ มีอุปกรณ์ประจำเตียง/ห้องผู้ป่วย รถเข็นและอุปกรณ์ช่วยชีวิตฉุกเฉิน เครื่องมือและชุดเครื่องมือ เพียงพอและพร้อมใช้งาน
28
แผนก 3 บริการผู้ป่วยใน IPD-ส1 มีจำนวนเตียงรับผู้ป่วยในอย่างเพียงพอ เพื่อรองรับผู้มีสิทธิ 2 = ร้อยละ 80 ขึ้นไป 1 = ร้อยละ 50-79 0 = น้อยกว่าร้อยละ 50 จำนวนเตียงเพียงพอ คือ เตียงที่เปิดให้บริการจริง *100 เตียงที่ควรมี เตียงที่ควรมี คิดจาก เตียงสำหรับ UC ที่ส่งต่อมาจากปฐมภูมิทุกแห่งรวมกัน (1:1000) เตียงสำหรับ UC ที่ส่งต่อมาจากหน่วยบริการอื่นในจังหวัด(1:2000)
29
แผนก 3 บริการผู้ป่วยใน IPD-ค 4 มีRN ปฏิบัติงานประจำอย่างน้อย 1 คน ในแต่ละเวร ต่อผู้ป่วยไม่เกิน 6 คน 2 = RN เป็นหัวหน้างาน และสัดส่วนได้ตามเกณฑ์ 1 = RN เป็นหัวหน้างาน และสัดส่วนไม่ได้ตามเกณฑ์ 0 = ไม่มี RN เป็นหัวหน้าเวร
30
แผนก 4 ห้องคลอด สถานที่ บุคลากร อุปกรณ์ จำนวนเตียง
สถานที่ตั้งหน่วยงาน/จัดพื้นที่ใช้สอยภายในหอผู้ป่วย บุคลากร แพทย์ปฏิบัติงานประจำ ตลอด 24 ชม. RN 2 คน ต่อผู้ป่วย 1 คน ปฏิบัติงานประจำ 24 ชม. อุปกรณ์ มีอุปกรณ์พอเพียง/พร้อมใช้
31
แผนก 5 ห้องผ่าตัด สถานที่ บุคลากร อุปกรณ์ วิสัญญีแพทย์ 1:2ห้องผ่าตัด
จำนวน 1ห้อง : 50เตียง ขนาด ไม่น้อยกว่า 25 ตรม. สูงไม่น้อยกว่า 3 ม. แบ่งพื้นที่ เป็น 4 โซน เครื่องปรับ อากาศแยกแต่ละห้อง ระบบสำรองไฟ/ติดต่อสื่อสาร บุคลากร ศัลยแพทย์ ปฏิบัติงานเต็มเวลา วิสัญญีแพทย์ 1:2ห้องผ่าตัด วิสัญญีพยาบาล 2:1 ห้องผ่าตัด ทีม RN 1 ทีมพร้อมปฏิบัติงานนอกเวลา อุปกรณ์ มีอุปกรณ์พอเพียง/พร้อมใช้
32
90 เตียงขึ้นไป ทันตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญหรือทันตแพทย์ผ่านการอบรมหลังปริญญา
แผนก 6 ทันตกรรม สถานที่ พื้นที่ใช้สอย ความสะดวก บุคลากร ความเพียงพอ 90 เตียงขึ้นไป ทันตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญหรือทันตแพทย์ผ่านการอบรมหลังปริญญา อุปกรณ์ เพียงพอตามรายการ
33
แผนก 6 ทันตกรรม Dent ค-2 90 เตียงขึ้นไป ทันตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ
หรือทันตแพทย์ผ่านการอบรมหลังปริญญา 2 = มีทันตแพทย์สาขาทันตกรรมทั่วไป อย่างน้อย 1 คน และ ทันตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญหรือทันตแพทย์ผ่านการอบรมหลังปริญญา ร่วมให้บริการ 1 = มีทันตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญหรือทันตแพทย์ผ่านการอบรมหลังปริญญา แต่ไม่มีทันตแพทย์สาขาทันตกรรมทั่วไป 0 = ไม่มีทันตแพทย์
34
แผนก 7 เภสัชกรรม สถานที่ บุคลากร อุปกรณ์ สถานที่จ่ายยา สถานที่รอรับยา
บริเวณให้คำปรึกษา คลังยา/ความคุมสภาพแวดล้อม บุคลากร ปฏิบัติงานประจำ อย่างน้อย 1 คน และไม่น้อยกว่า 1 คนต่อ 60 เตียง ปฏิบัติงานประจำ เป็นเวรผลัดตลอด 24 ชม. อุปกรณ์ เพียงพอและพร้อมใช้งานตามรายการที่กำหนด
35
แผนก 8 เทคนิคการแพทย์ สถานที่ บุคลากร อุปกรณ์ เหมาะสม/สะดวก
แบ่งพื้นที่ใช้สอย ความสะอาด/ การระบายอากาศ การเก็บขยะ บุคลากร ปฏิบัติงานประจำ อย่างน้อย 1 คน และไม่น้อยกว่า 1 คนต่อ 60 เตียง ปฏิบัติงานประจำ เป็นเวรผลัดตลอด 24 ชม. อุปกรณ์ เพียงพอและพร้อมใช้งานตามรายการที่กำหนด ตรวจสอบสภาพการใช้งาน
36
แผนก 9 รังสีวินิจฉัย สถานที่ บุคลากร อุปกรณ์
แยกเป็นสัดส่วน/สะดวกต่อการเข้ารับบริการ แบ่งพื้นที่ใช้สอย ป้องกันอันตราย จากรังสี มีป้ายเตือนผู้รับบริการ บุคลากร มีนักรังสีเทคนิคปฏิบัติงานประจำ อย่างน้อย 1คน และไม่น้อยกว่า 1 คนต่อ 60 เตียง ปฏิบัติงานประจำ เป็นเวรผลัดตลอด 24 ชม. อุปกรณ์ ได้มาตรฐานทางการแพทย์
37
แผนก 10 หอผู้ป่วยหนัก สถานที่ บุคลากร อุปกรณ์
จำนวนเตียงอย่างน้อย 2 เตียง/1:50 ระยะห่างระหว่างเตียงไม่น้อยกว่า 2 ม. บุคลากร แพทย์ปฏิบัติงานประจำ อย่างน้อย 1 คน ตลอด 24ชม. RN 1:2 เวรผลัด ตลอด 24 ชม. อุปกรณ์ เพียงพอ พร้อมใช้
38
แผนก 10 หอผู้ป่วยหนัก ICU ส2 จำนวนเตียงอย่างน้อย 2 เตียง/1:50
(จำนวนเดิม ไม่เกิน 12 เตียงต่อหอผู้ป่วย) แนวทางการพิจารณา 1.จำนวนเตียงอย่างน้อย 2 เตียง 2.สัดส่วน จำนวนเตียง ต่อ เตียงของหน่วยบริการ 1:50 ICU ค2 จำนวน RN ตามมาตรฐานของสภาการพยาบาล แนวทางการพิจารณา กำหนดสัดส่วนของRN 1:2 เวรผลัด ตลอด 24 ชม. 2 = RN 1:2 เวรผลัด ตลอด 24 ชม. 1 = RN หรือพยาบาลเทคนิค 1:2 เวรผลัด ตลอด 24 ชม. 0 = สัดส่วนต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 2 = เป็นไปตามเกณฑ์ 1 = จำนวนเตียงตามเกณฑ์ แต่สัดส่วนต่ำกว่าเกณฑ์ 0 = ต่ำกว่าเกณฑ์แต่พออนุโลมไม่ได้
39
แผนก 11 กายภาพบำบัด สถานที่ บุคลากร อุปกรณ์
ความสะดวก/การแบ่งพื้นที่ใช้สอย ห้องน้ำคนพิการ บุคลากร นักกายภาพบำบัด ไม่น้อยกว่า 1 คน ต่อ 30 เตียง ปฏิบัติงานประจำ อุปกรณ์ เพียงพอ พร้อมใช้
40
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.