งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ
คณะที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ จังหวัดสุรินทร์ นพ.ชัยวัฒน์ ทองไหม นายแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านเวชกรรมป้องกัน) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา

2 วัตถุประสงค์ I - Inspection มองหาสิ่งดี ๆ M - Monitor ตอบสนองนโยบาย E - Evaluation ผลลัพธ์ - KPI A - Audit จุดเสี่ยง - KRA

3 ประเด็นตรวจราชการ 1. การบริหารการเงินการคลัง
2.การบริหารจัดการด้านยา และเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา 3. ธรรมาภิบาล : การส่งเสริมป้องกัน การทุจริต ประพฤติมิชอบ การป้องปรามตรวจสอบการทุจริต ประพฤติมิชอบ การแก้ไขปัญหาการทุจริต ประพฤติมิชอบ

4 1. การบริหารการเงินการคลัง

5 ประเด็นการตรวจราชการ
1. การบริหารการเงินการคลัง 1.1 ประสิทธิภาพการบริหารการเงินสามารถควบคุม ปัญหาการเงินระดับ7 ของหน่วยบริการในพื้นที่ (ไม่เกินร้อยละ 10)” เป้าหมาย : 17 รพ. ผลงาน : ไม่มีรพ.ที่ติดเสี่ยงระดับ 7 ร้อยละ (ผ่านเกณฑ์)

6 ระดับความเสี่ยงทางการเงิน ไตรมาส 2/58 ของหน่วยบริการ จังหวัดสุรินทร์
ระดับความเสี่ยงทางการเงิน ไตรมาส 2/58 ของหน่วยบริการ จังหวัดสุรินทร์

7 ตาราง แสดง รายละเอียด การวิเคราะห์ สถานการณ์ทางการเงิน โรงพยาบาลในจังหวัดสุรินทร์ (ไตรมาส 2/2558)
3

8 การจัดทำแผนประมาณการรายได้ – รายจ่ายตาม Planfin
โรงพยาบาลที่มีรายได้ต่ำกว่าแผน จำนวน 8 แห่ง คือ รพ. ปราสาท รัตนบุรี ศีขรภูมิ สำโรงทาบ สนม พนมดงรัก เขวาสินรินทร์ และศรีณรงค์ เนื่องจาก - มีรพ. 6 แห่ง ไม่ได้รับเงินโอนขั้นต่ำ ในไตรมาส 2 (เพิ่งได้รับเมื่อ 10 เมย.) เมื่อนำมารวมกับรายได้ พบว่า มีรายได้สูงกว่าที่ประมาณการไว้ - ส่วน รพ. 2 แห่ง ยังคงที่รายได้ต่ำกว่าแผน เนื่องจาก * รพ.ปราสาท อยู่ระหว่างรอรับโอนงบลงทุน * รพ.ศีขรภูมิ หมวดรายได้อื่นๆ ไม่สามารถจัดเก็บได้ตามแผน

9 เปรียบเทียบผลการดำเนินงานตาม Planfin ไตรมาส 2 /58

10 ประเด็นที่ต้องเฝ้าระวัง
- ความอยู่รอดของ รพ.เปิดใหม่ และ รพ. ที่ได้รับงบเหมาจ่ายรายหัวปี ลดลง โรงพยาบาล ปี 2556 ปี 2557 ปี2558 OP/PP/IP จว.ช่วย รวม Hardship 2 ปรับ ปสภ.20% เหมาจ่าย % ลด สนม 28,511,029 3,000,000 31,511,029 33,170,950 3,097,738 - 36,268,688 34,266,496 -5.84 สำโรงทาบ 38,432,903 45,260,814 3,600,000 48,860,814 46,162,716 พนมดงรัก 37,065,226 3,210,000 40,275,226 36,274,289 4,473,617 40,747,906 38,855,549 -4.87 ศรีณรงค์* 47,828,363 37,504,836 -27.53 โนนนารายณ์* 36,770,345 27,996,288 -31.34 หมายเหตุ Risk score ปี 2558 - สนม T1 = 4, T2 = 2, เมย.58 = 3 - สำโรงทาบ T1 = 1, T2 = 2, เมย.58 = 3

11 ประเด็นที่น่าชื่นชม CFO. จังหวัด มีการช่วยเหลือและติดตาม รพ. เปิดใหม่ ด้านการ จัดทำรายงานและการวิเคราะห์ข้อมูลทางบัญชี โดยให้ จนท. มา ฝึกทำบัญชีและนำเสนอที่ สสจ.ทุกเดือน มีมาตรการควบคุมประสิทธิภาพด้านการเงินการคลังโดย ควบคุมค่าใช้จ่ายให้ลดลง หรือถ้าจะเพิ่มต้องไม่เกิน ร้อยละ 10 พัฒนาระบบการจัดเก็บรายได้ของหน่วยบริการ

12 1.2 หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการเดียวกัน (ไม่เกินร้อยละ 20) เป้าหมาย : รพ. ผลงาน : รพ.ที่มีต้นทุนต่อหน่วยเกินเกณฑ์เฉลี่ย 2 แห่ง ร้อยละ (ผ่านเกณฑ์) ** ไม่ผ่าน 2 รพ. รพ.จอมพระ (ต้นทุนเกินเกณฑ์ผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก) เนื่องจากบันทึกข้อมูลบริการ(AdjRW)คลาดเคลื่อน และ รพ. เขวาสิรินทร์ (ต้นทุนเกินเกณฑ์ผู้ป่วยใน) เนื่องจากการบันทึกบัญชีไม่ถูกต้อง จังหวัดได้มีการกำกับ ติดตามให้เป็นไปตามแผนฯที่หน่วยบริการได้ประมาณการไว้รายไตรมาส

13 รายละเอียด การวิเคราะห์ต้นทุนบริการ ไตรมาส 2/2558

14 ปัญหาและข้อเสนอแนะ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดด้านการเงินและบัญชี และผู้รับผิดชอบระบบข้อมูล เปลี่ยนบ่อย ต้องสอนงานให้คนใหม่บ่อยๆ (เนื่องจากเจ้าหน้าที่ส่วน ใหญ่เป็นลูกจ้าง) ส่วนกลาง ควรกำหนดกรอบตำแหน่ง นักวิชาการการเงิน และ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ให้หน่วยบริการ และ สสจ.

15 - มีการลงข้อมูลทางบัญชีได้ถูกต้องครบถ้วน
I - inspection ( สิ่งดี ๆ ) - มีการลงข้อมูลทางบัญชีได้ถูกต้องครบถ้วน ข้อสังเกต - การมีวินัยด้านการเงิน การคลังในระดับรพช. - ยังไม่มีรพ.ใดขอเงินช่วยเหลือ - มีข้อผิดพลาดจากส่วนกลางในกลางตัดเงิน Hardship ของรพ.พนมดงรัก

16 2. การบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ อย่างมีประสิทธิภาพ สมเหตุสมผล และมีจริยธรรม
ผลลัพธ์ การบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา มีประสิทธิภาพ ดำเนินการกำกับติดตามประเมินผล อย่างเป็นระบบ โปร่งใส สอดคล้องตามระเบียบกำหนด ต้นทุนยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาของหน่วยงานต่อผู้ป่วยลดลง และการใช้ยา เวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาเหมาะสมในหน่วยบริการแต่ละระดับ เป้าหมาย หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ควบคุมกำกับโดย สสจ เขต และหัวหน้าส่วนราชการ

17 ในจังหวัดสุรินทร์ มีโรงพยาบาลที่สามารถลดค่ายาและเวชภัณฑ์ ได้มากกว่าร้อยละ 10 ได้ 3 แห่ง 17.64 %คือ
โรงพยาบาลจอมพระ 21.12% โรงพยาบาลบัวเชด % โรงพยาบาลชุมพลบุรี % ลดไม่ได้ 14 แห่ง %

18 รายการ ยา (ร้อยละ) วัสดุชันสูตร วัสดุการแพทย์ วัสดุทันตกรรม รวม รพ. สุรินทร์ เพิ่มขึ้น 11.28 ลดลง 15.37 48.43 11.78 13.13 รพช.และรพท. 5.2 9.18 24.48 4.07 9.15 0.06 20.08 15.34 9.35

19 ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อต้นทุนของเวชภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด 1: ต้นทุนค่าเวชภัณฑ์ ฯ ของหน่วยงาน (ลดลงร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับปีงบประมาณ 2557) ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อต้นทุนของเวชภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น การซื้อร่วมของจังหวัดในยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา อยู่ระหว่างดำเนินการในยา 95 รายการ วัสดุการแพทย์และรังสีเทคนิค 27 รายการ วัสดุทันตกรรม 3 รายการ วัสดุชันสูตร 3 รายการ คาดว่าแล้วเสร็จ ภายในเดือนกรกฎาคม เมื่อดำเนินการแล้วจะสามารถลดมูลค่าได้ในไตรมาตร ที่ 4

20 ตัวชี้วัด 2: มูลค่าการจัดซื้อร่วมเวชภัณฑ์ฯของหน่วยงาน ( > ร้อยละ 20 ของมูลค่าการจัดซื้อเวชภัณฑ์ฯทั้งหมด) มูลค่าการ จัดซื้อร่วม(บาท) จัดซื้อทั้งหมด(บาท) ร้อยละ รพช. 66,538,963.92 250,395,400.78 26.57 รพศ. 4,709,888.00 380,606,196.35 1.24 รวม 71,248,851.92 631,001,597.13 11.29

21 ร้อยละการจัดซื้อเวชภัณฑ์ร่วมกัน วัสดุการแพทย์และรังสี
ตัวชี้วัด 2: มูลค่าการจัดซื้อร่วมเวชภัณฑ์ฯของหน่วยงาน ( > ร้อยละ 20 ของมูลค่าการจัดซื้อเวชภัณฑ์ฯทั้งหมด) รพ. ร้อยละการจัดซื้อเวชภัณฑ์ร่วมกัน ยา วัสดุการแพทย์และรังสี วัสดุทันตกรรม วัสดุชันสูตร รวม รพท.และ รพช. (16 แห่ง) 31.41 43.77 24.71 5.96 26.57 รพ.สุรินทร์ 1.06 - 20.11 3.86 1.24 รวม (17 แห่ง) 10.98 16.29 23.83 5.25 11.29

22 ร้อยละ 20 ของมูลค่าการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ฯทั้งหมด
มูลค่าการจัดซื้อร่วมเวชภัณฑ์ฯของหน่วยงานในจังหวัดสุรินทร์ ไม่สามารถดำเนินการได้ร้อยละ 20 จำนวน 2 แห่ง(11.76) ได้แก่ โรงพยาบาลศีขรภูมิ (18.41%) โรงพยาบาลสุรินทร์ (1.24%)

23 ข้อมูลการจัดซื้อเวชภัณฑ์ของโรงพยาบาลสุรินทร์ ปี 2558 ไตรมาส 1-2
จำนวนรายการ มูลค่า (บาท) จัดซื้อโดย ตกลงราคา (รายการ/ครั้ง) จัดซื้อโดยวิธีการสอบ/ประกวด/ กรณีพิเศษ จัดซื้อโดยตกลงราคา จัดซื้อโดยวิธีการสอบ/ ประกวด/กรณีพิเศษ ยา 3,158/ 4,265 - 161,059,779.97 (60%) 107,220,593 (40%) วัสดุการแพทย์  - วัสดุวิทยาศาสตร์ วัสดุทันต- กรรม

24 การลดการใช้ ดำเนินการ DUE ร่วมกันระดับจังหวัด การทบทวนกรอบบัญชียาของจังหวัด ทุกระดับ จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา มีการประกาศเจตนารมณ์ทุกรพ. ควรมีคณะกรรมการติดตามการปฏิบัติตามเจตนารมณ์ที่ได้ประกาศไป

25 การจัดซื้อรวม ยา สืบราคายาร่วมกัน 26 รายการ วัสดุทันตกรรม สืบราคาร่วมกัน 35 รายการ วัสดุการแพทย์ สืบราคาร่วมกัน 84 รายการ วัสดุชันสูตร สืบราคาร่วมกัน 36 รายการ

26 ปัญหา อุปสรรค การสอบ/ประกวดราคาร่วม ของจังหวัด ยังไม่ผ่านการอนุมัติให้ดำเนินการจากผู้ว่า เนื่องการระเบียบไม่ชัดเจนและวงเงินสูง

27 ข้อเสนอแนะต่อส่วนกลาง
กระทรวงฯ ควรแจ้งแนวทาง ขั้นตอนการจัดซื้อร่วมที่ชัดเจน เป็นลายลักษณ์อักษร ให้ทุกจังหวัดทราบและใช้เป็นแนวทางเดียวกัน

28 การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล
3. ธรรมาภิบาล : การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล 3.1 ด้านการส่งเสริมป้องกัน 3.2 ด้านการป้องปรามตรวจสอบ 3.3 ด้านการแก้ไข

29 ธรรมาภิบาล : 3.1 การส่งเสริมป้องกัน
3.1.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการ เสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรทุกระดับในหน่วยงานระดับจังหวัด สังกัด สป.ด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการกระทำผิด 3.1.2 การดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม

30 การเสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ
ประเด็น ๓.๓.๑(๑) (๑.๑) การเสริมสร้างและพัฒนา บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ ในหน่วยงานระดับจังหวัด สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ให้มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการกระทำผิด

31 เป้าหมาย หน่วยงานระดับจังหวัด สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
(สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด/รพ.ศูนย์/รพ.ทั่วไป)

32 ผลลัพธ์ที่ต้องการ บุคลากรกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ
ในหน่วยงานระดับจังหวัด สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้รับการเสริมสร้างและพัฒนา ให้มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และป้องกันการกระทำผิด

33 ผลการดำเนินงาน สสจ . สุรินทร์ 1)มีการเผยแพร่ความรู้ให้แก่เจ้าหน้าที่
ในรูปจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซค์ 2)มีการจัดทำแผน - โครงการอบรมความรู้เกี่ยวกับวินัยและเรื่องอื่นๆ เช่น ละเมิด ให้เจ้าหน้าที่ -กระตุ้นให้ผู้บังคับบัญชากำชับเจ้าหน้าที่ ให้รักษาวินัย

34 สสจ .สุรินทร์ -การจัดทำกระทู้ให้คำปรึกษาด้านกฎหมาย ระเบียบ ต่างๆ ในเว็บไซต์สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิ

35 สสจ .สุรินทร์ - มีแผนการการจัดประชุมโครงการให้ความรู้เกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัยในกลุ่มเป้าหมายระดับ รพ.สต.ทุกแห่ง รวม 210 แห่ง , รพศ. , รพท. , รพช.ทุกแห่ง และ ทุกกลุ่มงานใน สสจ.สุรินทร์ ในเดือนกรกฎาคม 2558

36 จุดเด่นที่เป็นแบบอย่าง
สสจ.สุรินทร์ กระตุ้นให้ดำเนินการส่งเสริมคนดี อย่างเป็นรูปธรรม โดยประกาศแนวคิดส่งเสริมคนดี ให้ โรงพยาบาลนำไปเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรม

37 3.1.2 การดำเนินงาน “โรงพยาบาลคุณธรรม”
ผลลัพธ์ รพ.คุณธรรม ความครอบคลุม รพ.คุณธรรม ในจังหวัด เป้าหมาย หน่วยงานระดับจังหวัด สังกัด สป. (รพศ. รพท. รพช.ระดับ M) มาตรการดำเนินงาน หน่วยงานดำเนินงาน “โรงพยาบาลคุณธรรม” ประชุมชี้แจงและแต่งตั้งกรรมการดำเนินการ จัดทำแผน รพ.คุณธรรม ดำเนินการตามแผน รายงานสรุปผลการดำเนินการตามแผน และมีการพัฒนาต่อยอด การตรวจ ติดตาม ภาวะผู้นำของผู้อำนวยการ รพ. การทำงานของกรรมการ และแกนนำ/เจ้าหน้าที่ กิจกรรมที่สนับสนุนให้เกิด รพ.คุณธรรม การพัฒนาต่อยอด

38 ความสำเร็จ โรงพยาบาลคุณธรรม
ระดับ ผลการดำเนินการแต่ละขั้นตอนในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 1 หน่วยงานประชุมชี้แจงนโยบาย และหาจุดร่วมที่บุคลากรทุกคนตกลงยึดเป็นข้อปฏิบัติในการนำไปพัฒนา “โรงพยาบาลคุณธรรม” 2 ดำเนินการระดับ 1 และ แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการ จัดทำแผนเสริมสร้างการบริหาร และพัฒนา“โรงพยาบาลคุณธรรม” 3 ดำเนินการระดับ 2 และ หน่วยงานดำเนินการตามแผนเสริมสร้างและพัฒนาการเป็น “โรงพยาบาลคุณธรรม” 4 ดำเนินการระดับ 3 และ หน่วยงานผลลัพธ์การดำเนินการพัฒนาหน่วยงานบริการเป็น “โรงพยาบาลคุณธรรม” 5 ดำเนินการระดับ 4 และ หน่วยงานมีการประเมินผลการดำเนินการ และปรับปรุงแผนการบริหาร พัฒนา “โรงพยาบาลคุณธรรม”

39 ผลการดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม
ระดับของรพ.คุณธรรม จำนวน/ชื่อหน่วยงาน ระดับ ๑ - ระดับ ๒ จำนวน 1 แห่ง ดังนี้ สสจ.สุรินทร์ ระดับ ๓ จำนวน 6 แห่ง ดังนี้ โรงพยาบาลสุรินทร์ โรงพยาบาลท่าตูม โรงพยาบาลรัตนบุรี โรงพยาบาลศีขรภูมิ โรงพยาบาลสังขะและโรงพยาบาลปราสาท ระดับ ๔ จำนวน - แห่ง ระบุชื่อหน่วยงาน ไม่มี ระดับ ๕ ระบุชื่อหน่วยงาน ไม่มี

40 ชื่นชม สสจ.สุรินทร์มีการกำหนดคุณธรรม เพื่อเป็นแนวทางให้โรงพยาบาลในสังกัดคือ ...ส่งเสริมคนดี โรงพยาบาลเป้าหมายหลักได้แก่ รพ.ศูนย์ฯ รพ.ทั่วไปและรพ.ชุมชุนระดับ Mรวม 6 แห่งมีการดำเนินงาน รพ.คุณธรรมอย่างต่อเนื่อง (อยู่ในระดับ 3)

41 ปัญหา อุปสรรค 1. แกนนำในการดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรมยังมีความเข้าใจในการดำเนินงานเกี่ยวกับโรงพยาบาลคุณธรรมไม่ชัดเจน 2. ขาดการมีส่วนร่วมในการกำหนดซึ่งอัตลักษณ์

42 ๑. แกนนำหรือผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม ต้องทำความเข้าใจแนวคิดและรับรู้เกี่ยวกับกระบวนการในการดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม และมีการเสริมพลังให้บุคลากรในองค์กร ๒. ควรให้บุคลากรทุกคนได้ร่วมคิดแนวทางปฏิบัติและมีส่วนกำหนดจุดร่วมหรืออัตลักษณ์ขององค์กรในการลด ละ เลิก พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ และเพิ่มพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของบุคลากร

43 ข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานที่รับการตรวจ
3. สสจ.สุรินทร์ควรมีเวปไซด์โรงพยาบาลคุณธรรม เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลในสังกัด 4. พิจารณาผนวกงานพัฒนาโรงพยาบาลคุณธรรมกับงานของชมรมคุณธรรมจริยธรรมที่มีอยู่เดิมตามบริบทของแต่ละแห่ง ๕. ขยายแนวคิดเกี่ยวกับการดำเนินงาน รพ.คุณธรรมไปยัง รพ.ระดับอื่นๆ เพิ่มขึ้น

44 ข้อเสนอแนะต่อส่วนกลาง
แนวคิดเกี่ยวกับการดำเนินงานโรงพยาบาล คุณธรรมเป็นแนวคิดที่ดี อยากให้ดำเนินการต่อไปเรื่อยๆ

45 ธรรมาภิบาล : 3.2) การป้องปราม ตรวจสอบ : การตรวจสอบภายใน
ธรรมาภิบาล : 3.2) การป้องปราม ตรวจสอบ : การตรวจสอบภายใน ผลลัพธ์ หน่วยงานในสังกัด สป. มีกลไกการตรวจสอบภายในอย่างเป็นรูปธรรม เป้าหมาย ภาคีเครือข่ายคณะกรรมการตรวจสอบภายใน ระดับจังหวัด มาตรการดำเนินงาน ภาคีฯ ระดับจังหวัด ดำเนินการตรวจสอบภายใน และประเมินระบบการควบคุมภายใน มีกระบวนการติดตามหน่วยงานที่ไม่ดำเนินการตามข้อเสนอแนะรายงานการตรวจสอบภายใน การตรวจ ติดตาม มีแผนการตรวจสอบภายในประจำปี มีการปฏิบัติตามแผนการตรวจสอบภายใน มีการกำกับ ติดตาม สอดคล้องกับนโยบาย สป. มีการติดตามการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะของรายงานการตรวจสอบภายใน มีหลักฐานเชิงประจักษ์การดำเนินการแก้ไข

46 ภาคีเครือข่ายคณะกรรมการตรวจสอบภายในระดับจังหวัด
การตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ ภาคีเครือข่ายปฏิบัติตามแผนการตรวจสอบภายใน -ผลการดำเนินการดำเนินการตามแผน ดำเนินการตรวจสอบตามแผนแล้วเสร็จ 16 แห่ง คิดเป็นร้อยละ รพช.ทั้งหมด 17 แห่ง คงเหลืออีก 1 แห่ง คือ รพศ.สุรินทร์

47 ภาคีเครือข่ายคณะกรรมการตรวจสอบภายในระดับจังหวัด
การตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ ภาคีเครือข่ายปฏิบัติตามแผนการตรวจสอบภายใน -ผลการดำเนินการดำเนินการตามแผน ดำเนินการตรวจสอบตามแผนแล้วเสร็จจำนวน 150 แห่ง คิดเป็นร้อยละ รพ.สต.ทั้งหมด 211 แห่ง คงเหลืออีก 61 แห่ง

48 ภาคีเครือข่ายคณะกรรมการตรวจสอบภายในระดับจังหวัด
การตรวจ ติดตาม ผลลัพธ์ - ภาคีเครือข่ายมีการกำกับ ติดตาม รายงานผลการดำเนินการ ดังนี้ มีกระบวนการดำเนินการกำกับ ติดตามหน่วยบริการที่ทักท้วงเป็นลายลักษณ์อักษร

49 สรุปผลการนิเทศ ตรวจราชการ
ตัวชี้วัด สรุปรายละเอียด 1. ระบบการควบคุมภายใน 1.1 ผลการสอบทานรายงานการควบคุมภายใน (ปย.2/ปอ.3) ตามระเบียบ คตง.กำหนด (สสจ , รพศและ รพช) การดำเนินงานยังไม่ครบทุกภารกิจเสนอแนะให้ปรับปรุงการดำเนินการตามแผนงานในช่วงที่เหลือ ในปีงบประมาณ 2558 - การปฏิบัติงานตรวจสอบ

50 สรุปผลการนิเทศ ตรวจราชการ
ตัวชี้วัด สรุปรายละเอียด 1.2 ผลการวิเคราะห์แบบ ปย. 2/ปอ.3 ผลการวิเคราะห์ความเสี่ยงที่เหลืออยู่ สอดคล้องกับวิธีการปรับปรุงการควบคุมที่มีอยู่ 2) แบบติดตาม ปย. 2/ปอ.3 รอบ 12 เดือน ปีที่ผ่านมา (ปีงบประมาณ พ.ศ.2557) มีการกำกับและการติดตามให้มีความสอดคล้องกับความเสี่ยงทีมีอยู่แต่ยังไม่ถูกต้องครบถ้วน - การปฏิบัติงานตรวจสอบ(ต่อ)

51 สรุปผลการนิเทศ ตรวจราชการ
ตัวชี้วัด สรุปรายละเอียด 2. ผลการตรวจสอบภายใน 2.1 ผลสอบทานการปฏิบัติงานเปรียบเทียบกับแผนการตรวจสอบภายในที่กำหนด มีการดำเนินการตรวจสอบฯ ตามแผนที่กำหนด 2.2 ผลการออกรายงานการตรวจสอบภายใน มีการสรุปรายงานตรวจสอบภายใน ให้หน่วยรับตรวจภายใน 45 วัน - การปฏิบัติงานตรวจสอบ(ต่อ)

52 สรุปผลการนิเทศ ตรวจราชการ
ตัวชี้วัด สรุปรายละเอียด รายงานผลการตรวจสอบภายใน (ต่อ) 3. รายงานผลการติดตามการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะรายงานการตรวจสอบภายใน มีผลการดำเนินการให้หน่วยบริการแจ้งผลการทักท้วงภายใน 45 วัน

53 สรุปผลการนิเทศ ตรวจราชการ
ตัวชี้วัด สรุปรายละเอียด สรุปผลการตรวจสอบภายในภาพรวมของจังหวัด สรุปผลการตรวจสอบภายในภาพรวมของจังหวัดเรื่องระบบการควบคุมภายใน ผลการดำเนินการสรุปรอบ 6 เดือน ได้ดำเนินการแล้วเสร็จภายในเดือน เมษายน 2558 ส่วนรอบ 12 เดือนยังไม่ครบระยะเวลาการรายงานผล

54 ธรรมาภิบาล : 3.3) การแก้ไขปัญหา : การแก้ไขปัญหาการปฏิบัติงานผิดพลาด ถูกทักท้วง ถูกสอบสวน ถูกลงโทษทางวินัย ผลลัพธ์ หน่วยงานมีการแก้ไขการบริหารจัดการด้าน การเงิน การคลัง พัสดุ บุคลากร ให้ถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ และ เป็นธรรม เป้าหมาย สสจ. รพศ. รพท. รพช. ที่มีปัญหาปฏิบัติงานผิดพลาด ถูกทักท้วง ถกสอบสวน ถูกลงโทษทางวินัย มาตรการดำเนินงาน ผู้บริหารและหน่วยงานมีการดำเนินการแก้ไขปัญหาฯ (ความไม่เป็นธรรมในการแต่งตั้งโยกย้าย เลื่อนระดับ เลื่อนขั้นเงินเดือน ด้านการเงิน การจัดซื้อจัดจ้าง) การตรวจ ติดตาม หน่วยงานที่มีปัญหาฯ ได้มีการดำเนินการตามมาตรการ ปรับปรุงแก้ไข ลงโทษ ดังนี้ 1. ด้านการลงโทษ ด้านจัดซื้อจัดจ้าง 3. ด้านการเงินและบัญชี ด้านการบริหารบุคคล

55

56 จุดเด่นที่เป็นแบบอย่าง
สสจ.ชัยภูมิ จัดให้มีนวก.สาธารณสุขไปประจำอยู่ที่ศูนย์ดำรงธรรมจังหวัด เพื่อรับเรื่องร้องทุกข์ และประสานการบริการทางด้านสาธารณสุข

57 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt พัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google