ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยชัยพร สมิธ ได้เปลี่ยน 8 ปีที่แล้ว
1
Performance Agreement พญ.ประนอม คำเที่ยง รองปลัดกระทรวงสาธารณสุขภารกิจด้านการแพทย์ 27 พฤศจิกายน 2558
2
Performance Agreement
3
เป้าหมาย: 1. ลดอัตราป่วย ตาย ใน service plan หลัก มะเร็ง,หัวใจและหลอดเลือด,ทารกแรกเกิด 2. ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วยออกนอกเขตลดลง 50% 3. ลดเวลารอคอยในการส่งต่อ พัฒนาโครงสร้างการทำงานด้านข้อมูลระบบบริหารจัดการติดตามและ ประมวลผล 1.คกก.กำกับทิศและนโยบายระดับ สธ. 2.โครงสร้าง service plan 12 สาขา ทุกเขต/จังหวัด บูรณาการส่งเสริม ป้องกัน และ ลดความแออัด 3.ศูนย์ประสานงานส่งต่อ ระดับเขต/ จังหวัด 1.คกก.จัดทำฐานข้อมูลกลาง 12 สาขา service plan 2.ฐานข้อมูลกลาง 12 สาขา service plan 3.นำ IT ใช้ประโยชน์ในการส่งต่อ ผู้ป่วยด้วยโปรแกรมมาตรฐาน 1.แนวทางปฏิบัติ ครอบคลุมป้องกัน รักษา แต่ละ service plan 2.แนวทางลดความแออัด ในแต่ละ ระดับบริการ 3.มาตรการชุมชน และ องค์กร ร่วมมือทุกภาคส่วนทั้งรัฐและ เอกชน 4.แผนลงทนและกำลังคนระยะยาว สอดคล้องทุก service plan ติดตามระดับเขต/ จังหวัด ประเด็น ลดป่วย ลดตาย ลดแออัด และส่ง ต่อนอกเขต สุขภาพ 3 เดือน6เดือน9เดือน12 เดือน - ทุกเขต./จังหวัด มีศูนย์ประสาน การส่งต่อคุณภาพ 100% - ทุกเขต/จังหวัด มีโครงสร้าง service plan 12 สาขา 100% - ข้อมูล refer ด้วย IT ในเขต/ จังหวัด 30% - CPG 3 service plan หลัก ระดับ เขต/จังหวัด 100% - ข้อมูล refer ด้วย IT ในเขต/จังหวัด 60% - มีฐานข้อมูลกลาง 12 สาขา service plan 60% - ข้อมูล refer ด้วย IT ใน เขต/จังหวัด 90% - มีฐานข้อมูลกลาง 12 สาขา service plan 90% - ลดอัตราป่วย ตาย service plan หลัก มะเร็ง,หัวใจและหลอดเลือด, ทารกแรกเกิด - ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วยออกนอกเขต ลดลง 50% Quick Win Service plan ลดป่วย ลดตาย ลดแออัด ลดเวลารอคอยในการส่งต่อ
4
Quick win 3 สาขา Service Plan 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน โรคมะเร็ง 1. ระยะเวลาการผ่าตัดภายหลังวินิจฉัยภายใน 4 สัปดาห์ 50%60%70%80% 2. ระยะเวลาได้รังสีรักษาภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ 50%60%70%80% 3. ระยะเวลาได้ยาเคมีบำบัดภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ 50%60%70%80% โรคหัวใจและหลอดเลือด 1. รพ. F2 สามารถให้ยา fibrinolysis 65%75%85%100% 2. ผู้ป่วย STEMI ได้รับยา fibrinolysis 50%60%70%80% ทารกแรกเกิด 1. เตียง NICU/sick newborn ได้มาตรฐาน ตามขนาดโรงพยาบาล 70%80%90%100%
5
เป้าหมาย: 1. CKD ควบคุมได้ 50% 2.DM,HT control ได้ 40/50% 3. อัตราตาย IHD (ลดลงร้อยละ 10ภายใน2562) การป้องกันการคัดกรอง ค้นหากลุ่มเสี่ยง การจัดการโรคระบบบริหารจัดการระบบข้อมูล ลดพฤติกรรมเสี่ยง ตำบลจัดการสุขภาพ โรงเรียนส่งเสริม สุขภาพ,สถานที่ ทำงานปลอดโรค ปลอดภัย อสม./ อสค. ผู้นำ จัดการสุขภาพ CKD ในกลุ่ม DM HT Thai CVD risk ประเมิน CVD CKD clinic คลองขลุง โมเดล ลดการบำบัดทดแทนไต ในภายหน้า ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย บริหารจัดการในเขต/จังหวัดโดย CKD NCD Board SI3M model ในเขต/จังหวัด คลินิก CKD คุณภาพใน รพ. F1 ขี้นไป คลินิก NCD คุณภาพ Standard data set CKD,NCD ระดับ ประเทศ/ เขต/จังหวัด/ อำเภอ 3 เดือน6เดือน9เดือน12 เดือน - คัดกรอง CKD ในผู้ป่วย DM HT 60% - ประเมิน CVD risk 60% - คัดกรอง CKD ใน ผู้ป่วย DM HT 70% - ประเมิน CVD risk 70% - standard data set ทุกจังหวัด 100% - คัดกรอง CKD ในผู้ป่วย DM HT 80% - ประเมิน CVD risk 80% - CKD คลินิกคุณภาพใน รพ. F1 ขึ้น ไป 80% - คลินิก NCD คุณภาพผ่าน 80% - คัดกรอง CKD ในผู้ป่วย DM HT 90% - ประเมิน CVD risk 90% - CKD ควบคุมได้ 50% - CKD คลินิกคุณภาพใน รพ. F1 ขึ้นไป 100% - คลินิก NCD คุณภาพผ่าน 100% - DM/HT ควบคุมได้ 40%/50% Quick Win CKDเป็น Entry point สู่การลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ลดผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังสู่โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง DM HT
6
เป้าหมาย: ประสิทธิภาพในการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ ๗ ของหน่วยบริการในพื้นที่ (ไม่เกินร้อยละ ๑๐) โครงสร้างการทำงานด้านบริหารจัดการด้านข้อมูลติดตามและ ประมวลผล คกก. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหาร จัดการการเงินการคลังหน่วย บริการ/จังหวัด/เขตสุขภาพ/สธ. ๑. ทำแผนประมาณการรายได้ ควบคุม ค่าใช้จ่าย (PLANFIN) ๒. พัฒนาการจัดทำต้นทุนบริการ (Unit Cost) ๓. ตัวชี้วัดทางการเงินการคลังระดับเขต / จังหวัด กระบวนการสร้างประสิทธิภาพทางการเงินด้วย FAI (Financial administration Index) ๔. จัดระบบตรวจสอบ Internal audit ในรพช. และ External audit ในรพศ./ รพท. นำร่อง พัฒนา standard data set การเงิน / การคลัง 1. แผนประมาณการ รายได้ ค่าใช้จ่าย 2. แผนการจัดซื้อยา เวชภัณฑ์ วัสดุ การแพทย์ วัสดุ วิทยาศาสตร์ 3. แผนบริหารจัดการ เจ้าหนี้ 4. แผนบริหารจัดการ ลูกหนี้ 5. แผนการลงทุน 6. แผนสนับสนุน รพ. สต. 3 เดือน6เดือน9เดือน12 เดือน ๑. แผน planfin ครบทุกหน่วย บริการ ๑๐๐ % ๒. หน่วยบริการมีคะแนนรวม FAI ไม่น้อยกว่า ๖๐ % ๓. สถานบริการเกินเกณฑ์เฉลี่ย ต้นทุนต่อหน่วยไม่เกิน ๒๖ % ๑. แผน planfin และผลการ ดำเนินงานมีความต่างไม่ เกินร้อยละ ๒๐ ๒. หน่วยบริการมีคะแนนรวม FAI ไม่น้อยกว่า ๗๐ % ๓. สถานบริการเกินเกณฑ์ เฉลี่ยต้นทุนต่อหน่วยไม่เกิน ๒๓ % ๔. หน่วยบริการระดับ ๗ ไม่ เกิน ๑๕ % ๑. แผน planfin และผลการ ดำเนินงานมีความต่างไม่ เกินร้อยละ ๑๕ ๒. หน่วยบริการมีคะแนน รวม FAI ไม่น้อยกว่า ๘๐ % ๓. สถานบริการเกินเกณฑ์ เฉลี่ยต้นทุนต่อหน่วยไม่ เกิน ๒๐ % ๔. หน่วยบริการระดับ ๗ ไม่เกิน ๑๓ % ๑. แผน planfin และผลการดำเนินงาน มีความต่างไม่เกินร้อยละ ๑๐ ๒. หน่วยบริการมีคะแนนรวม FAI ไม่ น้อยกว่า ๙๐ % ๓. สถานบริการเกินเกณฑ์เฉลี่ยต้นทุน ต่อหน่วยไม่เกิน ๑๗ % ๔. หน่วยบริการระดับ ๗ ไม่เกิน ๑๐ % Quick Win บริหารจัดการ HR,Finance พัสดุโปร่งใส
7
เป้าหมาย: 1. ร้อยละของจังหวัดในเขตสุขภาพที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการพัฒนาบุคลากร(ร้อยละ 70%) มาตรการ ๑.พัฒนาและเสริมสร้างศูนย์บุคลากรระดับกระทรวงสาธารณสุข./เขตสุขภาพ/จังหวัด ๒.พัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศ ระดับกระทรวงสาธารณสุข./เขตสุขภาพ/จังหวัด ๓.กระบวนการติดตามประเมินผล โดยใช้เกณฑ์คุณภาพบริหารจัดการพัฒนาบุคลากร 3 เดือน6เดือน9เดือน12 เดือน ๑.แผนพัฒนาบุคลากรระดับ เขต/จังหวัด ๑๐๐% ๒.จังหวัดในเขตสุขภาพผ่าน ขั้นตอนที่ ๑ ๑๐๐% จังหวัดในเขตสุขภาพ ผ่านขั้นตอนที่ ๒ ๑๐๐% จังหวัดในเขตสุขภาพผ่าน ขั้นตอนที่ ๓ ขึ้นไป ๑๐๐% จังหวัดของในเขตสุขภาพผ่าน ๕ ขั้นตอน ๗๐% Quick Win บริหารจัดการ HR,Finance พัสดุโปร่งใส เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการการพัฒนาบุคลากร ๑. กำหนดโครงสร้างและผู้รับผิดชอบการพัฒนา บุคลากรของจังหวัดให้ชัดเจน ๒. จัดทำแผนพัฒนาบุคลากรอย่างมีส่วนร่วมให้สอ คล้องกับเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ของจังหวัดและ เขตสุขภาพ ๓. พัฒนาและจัดเก็บข้อมูลการพัฒนาบุคลากรอย่าง เป็นระบบ ๔. จัดระบบและกลไกในการสนับสนุนให้เกิดการพัฒนา บุคลากรให้มีประสิทธิภาพ ๕. สรุปรายงานผลนำสู่การปรับปรุงระบบ กลไก ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย ข้อเสนอแนะการพัฒนา บุคลากรที่มีประสิทธิภาพในทุกระดับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.