Collaborative problem solving

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
Advertisements

แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
ผู้วิจัย นายมณัฐ เฮ่ประโคน
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
การสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
วิธีสอนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก Problem-based learning:PBL
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
กิจกรรมแนะแนวการศึกษาและ อาชีพ ม.5 โปรแกรมการพัฒนาการตระหนักรู้และ ความสามารถในการตัดสินใจเลือก อาชีพและศึกษาต่อ คุณครูสุนันท์ ปรารมย์
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การปรับโครงสร้าง โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ แตง.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ผลการประเมินระดับชาติและ
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism Theory)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
รูปแบบการเรียนการสอน
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การออกแบบการจัดการเรียนรู้ การแก้ปัญหาแบบร่วมมือ (Collaborative Problem Solving)

Collaborative problem solving ความสามารถในการเข้าร่วม ในกระบวนการแก้ปัญหาของกลุ่ม ที่มีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการแบ่งปันความรู้ ความเข้าใจ ที่มี และรวบรวมความรู้ ทักษะและ ความพยายามเข้าด้วยกันเพื่อแก้ปัญหา

Collaborative problem solving องค์ประกอบและกรอบโครงสร้างการประเมิน การแก้ปัญหาแบบร่วมมือ พื้นฐานของนักเรียน ความรู้ที่ติดตัวมา บุคลิกลักษณะ สมรรถนะ การสร้างและรักษาความเข้าใจที่มีร่วมกัน การเลือกวิธีดำเนินการที่เหมาะสม การสร้างและรักษาระเบียบของกลุ่ม บริบท ลักษณะของงาน การใช้สื่อ โครงของปัญหา องค์ประกอบของกลุ่ม ทักษะ ทักษะความร่วมมือ ทักษะการแก้ปัญหา

Collaborative problem solving การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Instructional Models of Cooperative Learning)

Cooperative Learning แนวคิด/ทฤษฎี ผู้เรียนควรร่วมมือกันในการเรียนรู้มากกว่า การแข่งขัน เพราะการแข่งขันก่อให้เกิดสภาพการณ์ ของการแพ้-ชนะ ต่างจากการร่วมมือกันซึ่งก่อให้เกิด สภาพการณ์ของการชนะ-ชนะ อันเป็นสภาพการณ์ ที่ดีกว่าทั้งทางด้านจิตใจและสติปัญญา 5

Cooperative Learning หลักการเรียนรู้แบบร่วมมือ 1. การเรียนรู้ต้องอาศัยหลักการพึ่งพากัน (positive interdependent) โดยถือว่าทุกคนมีความสำคัญเท่าเทียมกันและจะต้องพึ่งพากันเพื่อความสำเร็จร่วมกัน 2. การเรียนรู้ที่ดีต้องอาศัยการหันหน้าเข้าหากัน มีปฏิสัมพันธ์กัน (face-to- face interaction) เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ข้อมูล และการเรียนรู้ต่างๆ 6

Cooperative Learning หลักการเรียนรู้แบบร่วมมือ 3. การเรียนรู้ร่วมกันต้องอาศัยทักษะทางสังคม (social skills) โดยเฉพาะทักษะในการทำงานร่วมกัน 4. การเรียนรู้ร่วมกันควรมีการวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม (group processing) ที่ใช้ในการทำงาน 5. การเรียนรู้ร่วมกันจะต้องมีผลงานหรือผลสัมฤทธิ์ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่มที่สามารถตรวจสอบ วัดประเมินได้ (individual accountability) 7

การจัดกิจกรรม การเรียนรู้ Cooperative Learning การจัดกิจกรรม การเรียนรู้ วิธีการดำเนินการ - การจัดกลุ่ม - การศึกษาเนื้อหาสาระ - การทดสอบ - การคิดคะแนนและให้รางวัล โดยใช้หลักการเรียนรู้แบบร่วมมือ 5 ประการ

Collaborative problem solving ความสามารถในการเข้าร่วม ในกระบวนการแก้ปัญหาของกลุ่ม ที่มีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการแบ่งปันความรู้ ความเข้าใจ ที่มี และรวบรวมความรู้ ทักษะและ ความพยายามเข้าด้วยกันเพื่อแก้ปัญหา

ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา Cooperative Learning ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา (Problem solving)

Problem solving การจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการแก้ปัญหา 1. สังเกต : ผู้เรียนศึกษาข้อมูล รับรู้และทำความเข้าใจ ในปัญหาจนสามารถสรุป และตระหนักในปัญหานั้น 2. การวิเคราะห์ : ผู้เรียนได้อภิปรายหรือแสดงความคิดเห็นเพื่อแยกแยะประเด็นปัญหา สภาพ สาเหตุ และลำดับความสำคัญของปัญหา 11

Problem solving การจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการแก้ปัญหา 3. สร้างทางเลือก : ผู้เรียนแสวงหาทางเลือกในการแก้ปัญหาอย่างหลากหลาย ซึ่งอาจมีการทดลอง ค้นคว้า ตรวจสอบเพื่อเป็นข้อมูลประกอบ 4. เก็บข้อมูลประเมินทางเลือก : ผู้เรียนปฏิบัติตามแผนและบันทึกการปฏิบัติงานเพื่อรายงานและตรวจสอบ ความถูกต้องของทางเลือก 12

Collaborative problem solving ทำงานร่วมกัน (work together)

Collaborative problem solving ทำอย่างไรครูจึงจะรู้ว่าผู้เรียนทำงานร่วมกัน

Collaborative problem solving สมรรถนะที่ต้องใช้ในการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ 1.การสร้างและรักษาความเข้าใจที่มีร่วมกัน รู้และเข้าใจข้อมูลสำคัญ รวมทั้งจุดแข็งและจุดอ่อนที่สัมพันธ์ กับงานที่ตนเองและเพื่อนร่วมกลุ่มมี สร้างข้อตกลง และทำความเข้าใจปัญหาไปในทิศทางเดียวกัน สื่อสารกับเพื่อนร่วมทีมเกี่ยวกับสิ่งที่กระทำ หรือลงมือกระทำ ตรวจสอบ ติดตามและแก้ไขและรักษาความเข้าใจที่มีร่วมกัน ตลอดการทำภารกิจ 15

Collaborative problem solving สมรรถนะที่ต้องใช้ในการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ 2.การเลือกวิธีการดำเนินการที่เหมาะสมในการแก้ปัญหา เข้าใจปัญหาและรู้แนวทางการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย มีการสื่อสารในกลุ่มระหว่างทำงานร่วมกันโดยใช้การอธิบาย การอภิปราย การต่อรอง การให้เหตุผล และการโต้แย้ง ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ร่วมกันตามบทบาทหน้าที่ของตน ตรวจสอบ ติดตาม และประเมินความสำเร็จของการแก้ปัญหา 16

Collaborative problem solving สมรรถนะที่ต้องใช้ในการแก้ปัญหาแบบร่วมมือ 3.การสร้างและรักษาระเบียบของกลุ่ม เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนและเพื่อนร่วมกลุ่ม รวมทั้งเฝ้าติดตามและรักษากฎระเบียบที่มีร่วมกัน สื่อสารและถ่ายทอดข้อมูลที่สำคัญ ตลอดจนปัญหา และอุปสรรคที่เกิดขึ้นกับเพื่อนร่วมกลุ่ม ตรวจสอบ ติดตาม สะท้อนผลและปรับโครงสร้างของทีม 17

Collaborative problem solving กิจกรรมที่ 3.2 ศึกษาสถานการณ์ บันทึกความคิดเห็นหรือประเด็น ลงในแบบบันทึก 18

Collaborative problem solving แบบบันทึกกิจกรรมที่ 3.2 กิจกรรม/วิธีการ วิธีการ/รูปแบบ เทคนิคการเรียนรู้ สถานการณ์ สื่อนวัตกรรม เทคนิค แหล่งการเรียนรู้ ลักษณะของภาระงาน การตัดสินใจเป็นกลุ่ม ; การโต้เถียง ขัดแย้ง การยอมประนีประนอม การประสานในกลุ่ม ; การทำงานร่วมกันหรือแก้ปัญหาแบบจิกซอร์ ข้อมูลสำคัญถูกเปิดเผย เพื่อแบ่งปันร่วมกัน การสร้างชิ้นงาน ; กลุ่มจะช่วยกันสร้างชิ้นงาน สมรรถนะ การสร้างและรักษาความเข้าใจที่มีร่วมกัน การเลือกวิธีดำเนินการที่เหมาะสม การสร้างและรักษาระเบียบของกลุ่ม บทบาทนักเรียน อธิบายแต่ละสมรรถนะว่านักเรียนมีบทบาทอะไรบ้าง บทบาทครู บันทึกบทบาทของครูแต่ละกิจกรม/งาน /แต่ละสมรรถนะ ครูมีบทบาทอะไร

Thank You !