โครงการส่งเสริมการเกษตร ในรูปแบบแปลงใหญ่จังหวัดชัยภูมิ ปี 2558 สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยภูมิ
คณะอนุฯกก.ระดับจังหวัด กลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงาน กำหนดแนวทางและกรอบการดำเนินงาน คณะกก.ระดับกระทรวง จำแนกและคัดเลือกพื้นที่ /ชนิดสินค้า คัดเลือกผู้จัดการแปลงการเกษตรในพื้นที่ ติดตามประเมินผล คณะอนุฯกก.ระดับจังหวัด คัดเลือกและรวมกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ ชี้แจงทำความเข้าใจแนวทางการดำเนินงาน กำหนดเป้าหมายการพัฒนา/แผนปฏิบัติงาน ดำเนินการให้มีการผลิตตามแผนปฏิบัติการ รวมทั้งการจัดการด้านการตลาด ผู้จัดการแปลง 2
การส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ จังหวัดชัยภูมิ ปี 2558 ลดต้นทุนการผลิต/ผลผลิตมีคุณภาพ/เพิ่มรายได้ เกษตรกร การจัดการองค์ความรู้ (KM) ความหมาย แผน พัฒนา จัดเวทีชุมชนวิเคราะห์ปัญหา (MRCF) บูรณาการหน่วยงาน ภาครัฐ/ท้องถิ่น เป็นการส่งเสริมการเกษตรที่ยึดพื้นที่เป็นหลัก (Area-based) ในการดำเนินงานในลักษณะ บูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยมีผู้จัดการพื้นที่เป็นผู้บริหารจัดการ ทุกกิจกรรมตลอดห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) คณะกรรมการบริหารกลุ่ม ผู้จัดการเกษตรแปลงใหญ่ เป้าหมาย - พื้นที่นำร่อง 4 ตำบล - พื้นที่ขยายผล 16 ตำบล 1. คัดเลือก พื้นที่-คน-สินค้า 2. จัดระบบฐานข้อมูล:: ข้อมูลทั่วไป/ รายครัวเรือน/MAPPING สนับสนุนการทำงาน ในพื้นที่ สนับสนุนตามภารกิจหน่วยงาน ประชุมชี้แจง สนับสนุนตามนโยบาย ศูนย์อำนวยการโครงการ ศูนย์ปฏิบัติการโครงการ คณะกรรมการระดับจังหวัด/อำเภอ วัตถุประสงค์ 1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยส่งเสริมให้เกษตรกรรายย่อยมี ความเข้มแข็งสามารถบริหารจัดการการผลิต การตลาดร่วมกันได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เช่นเดียวกับฟาร์มขนาดใหญ่ 2 เพื่อพัฒนากระบวนการทำงานส่งเสริมการเกษตรให้นักส่งเสริม การเกษตรเป็นผู้จัดการพื้นที่ โดยบูรณาการทุกภาคส่วนในพื้นที่ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ศักยภาพของพื้นที่ และตอบสนอง ต่อความต้องการของเกษตรกร
1. พื้นที่แปลงติดต่อกัน รูปแบบนาแปลงใหญ่ 1. พื้นที่แปลงติดต่อกัน กษอ. (ผจก.แปลง) คณะกรรมการ บริหารกลุ่ม 1,000 ไร่/ สมาชิก...ราย (สินค้าชนิดเดียวกัน = สินค้า A) สมาชิกกลุ่มเกษตรกร
2. พื้นที่แปลงไม่ติดต่อกัน (สินค้าชนิดเดียวกัน) รูปแบบนาแปลงใหญ่ 2. พื้นที่แปลงไม่ติดต่อกัน (สินค้าชนิดเดียวกัน) กษอ. (ผจก.แปลง) 200 ไร่/ สมาชิก...ราย (สินค้า A) 400 ไร่/ สมาชิก...ราย (สินค้า A) คณะกรรมการ บริหารกลุ่ม 300 ไร่/ สมาชิก...ราย (สินค้า A) สมาชิกกลุ่มเกษตรกร สมาชิกกลุ่มเกษตรกร สมาชิกกลุ่มเกษตรกร สมาชิกกลุ่มเกษตรกร 100 ไร่/ สมาชิก...ราย (สินค้า A)
3. พื้นที่แปลงไม่ติดต่อกัน (สินค้าคนละชนิด) รูปแบบนาแปลงใหญ่ 3. พื้นที่แปลงไม่ติดต่อกัน (สินค้าคนละชนิด) กษอ. (ผจก.แปลง) คณะกรรมการ บริหารกลุ่ม 200 ไร่/ สมาชิก...ราย ( สินค้า A ) 400 ไร่/ สมาชิก...ราย ( สินค้า B ) คณะกรรมการ สินค้า A คณะกรรมการ สินค้า B คณะกรรมการ สินค้า C สมาชิกกลุ่มเกษตรกร A สมาชิกกลุ่มเกษตรกร B 300 ไร่/ สมาชิก...ราย ( สินค้า C ) 100 ไร่/ สมาชิก...ราย ( สินค้า C ) สมาชิกกลุ่มเกษตรกร C สมาชิกกลุ่มเกษตรกร C
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการ และคณะทำงานโครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่จังหวัดชัยภูมิ ปี 2558 2. กำหนดแผนปฏิบัติงานโครงการ 3. จัดสรรงบประมาณสนับสนุนการดำเนินงาน 4. วิเคราะห์สถานการณ์ของพื้นที่ โดยผู้จัดการพื้นที่จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อกำหนดประเด็นและเป้าหมายการพัฒนาในแต่ละพื้นที่/แปลง ให้สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ (Zoning) สภาพปัญหาและความต้องการของเกษตรกรในการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสินค้าเกษตร การตลาด และเทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสม เพื่อให้ได้เป้าหมายของการพัฒนาแปลงใหญ่ร่วมกัน โดยได้ประเด็นการพัฒนาที่นำเสนอเพื่อขอความเห็นชอบของคณะกรรมการอำนวยการ และคณะทำงานโครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่จังหวัดชัยภูมิ ปี 2558 ดังนี้
การดำเนินโครงการนาแปลงใหญ่ จังหวัดชัยภูมิ ประเด็น จุดดำเนินการ ตำบลศรีสำราญ อำเภอคอนสวรรค์ ตำบลนาหนองทุ่ม อำเภอแก้งคร้อ ตำบลโพนทอง อำเภอเมืองชัยภูมิ ตำบลกุดน้ำใส อำเภอจัตุรัส 1. พื้นที่ดำเนินการ 1,432 ไร่ 1,114 ไร่ 1,008 ไร่ 1,012 ไร่ 2. สมาชิก 156 ราย 174 ราย 125 ราย 82 ราย 3. เจ้าของแปลง ศูนย์เรียนรู้ นายสว่าง นราพงษ์ นายวิมาล แผ่นเงิน นางนันทา ปาจิตเน นายอุทัย ลาภเกิด 4. เป้าหมายการผลิต (ประเภทสินค้า) - ข้าวปลอดภัย - เมล็ดพันธุ์คุณภาพ - ข้าวอินทรีย์ 5. พันธุ์ข้าว (ชนิดสินค้า) - หอมมะลิ - กข 6 - ไรซ์เบอรี่ - ข้าวเจ้าเหลือง
การดำเนินโครงการนาแปลงใหญ่ จังหวัดชัยภูมิ ประเด็น (ต่อ) จุดดำเนินการ ตำบลศรีสำราญ อำเภอคอนสวรรค์ ตำบลนาหนองทุ่ม อำเภอแก้งคร้อ ตำบลโพนทอง อำเภอเมืองชัยภูมิ ตำบลกุดน้ำใส อำเภอจัตุรัส 6. ประเด็น การพัฒนา - เพิ่มผลผลิต - ลดต้นทุน - สร้างคุณภาพ - ผลิตเมล็ดพันธุ์ 7. ปัญหา ความต้องการ - เมล็ดพันธุ์ข้าว - แหล่งน้ำ - เครื่องจักรกล - การอบรมความรู้ - ปรับปรุงบำรุงดิน - แหล่งเงินทุน - การตลาด, ราคา - ลดราคาปัจจัยฯ - สารชีวภัณฑ์ป้องกัน ศัตรูพืช - ฯลฯ 8. เทคโนโลยีที่ใช้ ระหว่างดำเนินการ 9. แผนการผลิต 10. การเชื่อมโยง ภาคีเครือข่าย
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เกษตรกรรายย่อยมีความเข้มแข็ง และสามารถบริหารจัดการการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ต้นทุนการผลิตลดลง คุณภาพผลผลิตเพิ่มขึ้น ส่งผลให้เกษตรกร มีรายได้เพิ่มขึ้น 2. มีรูปแบบการทำงานส่งเสริมการเกษตรแบบบูรณการ ในพื้นที่ที่มีการบริหารจัดการในลักษณะแปลงใหญ่ที่เหมาะสมกับ สภาพแต่ละพื้นที่ โดยมีเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรทำหน้าที่เป็น ผู้จัดการพื้นที่