การรักษาดุลยภาพในร่างกาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

การลำเลียงสารในไฮดรา
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลยางพารา
สรุปการรายงานผลการ ประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อประจำเดือน ตุลาคม กันยายน 2555.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
ระบบขับถ่ายของเสีย.
คุณสมบัติของสิ่งมีชีวิต
การรักษาดุลยภาพของเซลล์
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
1. การผสมใดต่อไปนี้ที่แยกออก จากกันได้ด้วยการระเหยแห้ง 1. เกลือป่นกับ น้ำ 2. น้ำมันพืชกับ น้ำ 3. ข้าวเปลือก กับแกลบ 4. ผงตะไบ เหล็กกับทราย.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์ เนื้อหา 1.1 โครงสร้างร่างกายมนุษย์ 1.2 ระบบอวัยวะ.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
สื่อการเรียนรู้เพื่อเพื่อนนักเรียน
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
โรงเรียนธนรัตน์วิทยา
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
บทที่ 6 การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
ระดับความเสี่ยง (QQR)
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
โครงสร้างของพืชดอก (ใบ)
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
โครงสร้างและ หน้าที่ของราก
ระบบโครงข่ายโทรศัพท์
การรักษาดุลภาพของเซลล์
Basic Electronics.
ครูปฏิการ นาครอด.
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
พฤติกรรม (Behavior) สิ่งเร้า ภายนอก ภายใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
นายสุรชัย ดอกแก้ว โรงเรียนสตรีสิริเกศ จังหวัดศรีสะเกษ สพม. 28
แผ่นดินไหว.
โครงสรางพื้นฐานของเซลล
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
ชีววิทยา นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
วิลเลี่ยม ฮาร์วี่ ได้กล่าวว่า..."ความเชื่อเปลี่ยนแปลงได้เสมอ   แต่ความจริงไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้" 
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
SMS News Distribute Service
การหักเหของแสง การหักเหของแสง คือ การที่แสงเดินทางจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งที่มีความหนาแน่นต่างกันจะทำให้แสงมีความเร็วต่างกันส่งผลให้ทิศทางของแสงเปลี่ยนแปลงไป.
การออกแบบลวดลาย ประวัติและความเป็นมา โดย อ.จรรจิรา โมน่า.
การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทในใยประสาท
ระเบียบวิธีการศึกษาคติชนวิทยา
บทที่ ๑ การพูดและการนำสนอเพื่องานนิเทศศาสตร์
ระบบย่อยอาหาร.
อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
การรักษาดุลยภาพ ในร่างกาย
Structure of Flowering Plant
การทำงานของระบบประสาทอัตโนวัติ
กราฟการเติบโตของสิ่งมีชีวิต
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ประเทศบรูไน จัดทำโดย ด.ญ.ธัชพรรณ วรรณภิละ ม.2/8 เลขที่ 11
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การรักษาดุลยภาพในร่างกาย

โครงสร้างและอวัยวะแลกเปลี่ยนก๊าซ ในสิ่งมีชีวิตต่างๆ โครงสร้างและอวัยวะแลกเปลี่ยนก๊าซ ในสิ่งมีชีวิตต่างๆ

1. ใช้เยื่อหุ้มเซลล์และผิวหนังแลกเปลี่ยนก๊าซ ใช้ในการแพร่ (diffusion) ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ พบในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว (protozoa) เช่น พารามีเซียม อะมีบา

ฟองน้ำ (Porifera) ยังไม่มีระบบเนื้อเยื่อ (Tissue) เซลล์เรียงตัวหลวมๆ อาศัยกระบวนการแพร่ (diffusion) และ Active transport นำอาหารเข้าเซลล์  choanocyte แบบฟาโกไซโทซิส (phagocytosis) มีเซลล์อะมีโบไซด์ (amoebocyte) ย่อยอาหาร

ไฮดรา (cnidarians) มีเนื้อเยื่อ (Tissue) 2 ชั้น ช่องว่างกลางลำตัว(Gastrovascular cavity) สารอาหารขนาดเล็ก น้ำ ก๊าซ แพร่เข้าสู่เซลล์โดยตรง

พลานาเรีย (Platyhelminthes) ทางเดินอาหารแตกแขนงทั่วร่างกาย ใช้การแพร่ และ Active transport

ไส้เดือนดิน (Annelida) ระบบเลือดปิด (Closed circulatory system) มีหัวใจเทียม (Pseudoheart)

2. เหงือก (Gill) พบในสัตว์น้ำ เช่น ปลา เส้นเลือดฝอยมีทิศทางการไหลของเลือดสวนทางกับกระแสน้ำ เรียก countercurrent exchange พบในสัตว์น้ำ เช่น ปลา

3. ท่อลม (tracheae): เช่น แมลง

ระบบท่อลม

4. ปอด (lung) พบในสัตว์บก เช่น หอยทากบก และสัตว์มีกระดูกสันหลัง

1. อวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำ ส่วนใหญ่ คือ 1. Trachea 2. Gills 3. Malpighian tubules 4. Book lungs

2. ปัจจัยสำคัญในการแลกเปลี่ยนแก๊สระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตต่างๆ คือ 1. พื้นที่ผิวสำหรับแลกเปลี่ยนแก๊สต้องบาง 2. พื้นที่ผิวสำหรับแลกเปลี่ยนแก๊สต้องมีลักษณะ เปียกชื้น 3. พื้นที่ผิวสำหรับแลกเปลี่ยนแก๊สต้องมีหลอดเลือด 4. ทั้งข้อ 1 และข้อ 2