ผู้บังคับบัญชากับการสอนงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเขียว
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ดร. มานะ นิมิตรมงคล เลขาธิการ องค์กรต่อต้านคอร์รัปชันฯ 8 พฤษภาคม 2558
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
“ การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ของพนักงานส่วน ท้องถิ่น ” ในระบบจำแนก ตำแหน่งเป็นประเภท ตามลักษณะงาน จัดทำโดย ฝ่ายส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากร กองการเจ้าหน้าที่
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
KM WEBSITE กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เสนอ อาจารย์ สุกัลยา ชาญสมร.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Seminar 1-3.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ทิศทางการบริหารสำหรับผู้บริหาร มืออาชีพ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
Strategic Line of Sight
หลักสูตรเสริมสร้างเกียรติภูมิข้าราชการ : สำนึกข้าราชการไทยไม่โกง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ทดสอบหลังเรียนพระพุทธหน่วย8
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
โดย หัวหน้างานบริหารทั่วไป
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้บังคับบัญชากับการสอนงาน เพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน 27-29 มกราคม 2549

พารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา ทรัพยากรที่สำคัญที่สุดในองค์กรและประเทศชาติมิใช่เครื่องจักร เครื่องกลหรือ Infrastructureหรือเงิน แต่คือคนเพราะการที่มีทั้งคนดีและเก่งจะทำให้ทรัพยากรอื่น ๆ เกิดการพัฒนาเพื่อนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดขึ้นมาได้

การพัฒนาทรัพยากรบุคคล กระบวนการของกิจกรรมต่าง ๆ ที่จัดทำขึ้นในช่วงเวลาที่กำหนดอย่างเป็นระบบ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงานให้เปลี่ยนแปลงไปตามความต้องการขององค์การ

การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ การบริหารจัดการที่ใช้แนวทาง วิธีการของภาคเอกชน โดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงานและปรับลดขนาดของภาครัฐให้เหมาะสม มีประสิทธิภาพ

การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ โลกเปลี่ยนแปลงและเราหยุดมันไม่ได้ WINDMILL เมื่อลมแห่งการเปลี่ยนแปลงพัดมา เราจะเป็น หรือ WINDSHIELD

วัฒนธรรมใหม่ในการทำงาน High Performance Organization ราชการสนับสนุน เอกชนดำเนินการ “การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งที่ดีแสดงถึงความมีชีวิต มิใช่ตายแล้ว” “รัฐบาลกำลังปรับเปลี่ยน ข้าราชการต้องเปลี่ยนแปลงอย่างมีทิศทาง” 1. ปรับวิธีคิด 2. ทำงานรวดเร็ว 3. รับผิดชอบต่อลูกค้า 4. ว่องไว กระฉับกระเฉง 5. เปิดโอกาสให้คนเรียนรู้

การปรับเปลี่ยนไปสู่การบริหารภาครัฐแนวใหม่ แนวเก่า แนวใหม่ เน้นความสัมพันธ์ระหว่าง นโยบายและการบริหาร เชิงกลยุทธ์ เน้นกฎระเบียบและรายละเอียด รวมศูนย์และทำ ทุกอย่าง กระจายอำนาจและ หาแนวร่วม เน้นปัจจัยการผลิต เน้นผลผลิต ผลลัพธ์ คุณภาพ เพื่อประโยชน์ของราชการ มุ่งสนองประโยชน์ของประชาชน

ระบบราชการ New CompetitiveParadigm Hollywood Model Paradigm ระบบราชการเดิม Detroit Model

ทักษะในการจัดการยุคใหม่ ข้าราชการยุคเก่า ข้าราชการยุคใหม่ ความรู้แบบราชการ  ทำงานเพื่อประชาชน ทำตามกันมา  สามารถเจรจา ต่อรอง แก้ปัญหา  ทำงานยึดกฎ ระเบียบ  มนุษยสัมพันธ์ประสานประโยชน์ ความต้องการหลากหลาย  ใช้เทคโนโลยีน้อย  การใช้ภาษาต่างประเทศ  มุ่งปัจจัยการผลิต  ใช้เทคโนโลยีมากโดยเฉพาะ IT  สร้าง พัฒนาสมรรถนะหลักให้  “เจ้าคน นายคน” สอดคล้องกับสมรรถนะองค์การ  แก้ปัญหา (Reactive) สร้างวัฒนธรรมองค์การเป็น LO

ความต้องการขององค์การ NPM ภารกิจที่เปลี่ยนแปลงไป ความต้องการขององค์การ Mission Vision Values วัฒนธรรม ค่านิยม การเปลี่ยนแปลง Strategic Plan of Organization บทบาทใหม่ตามภารกิจใหม่ /บทบาทที่เพิ่มขึ้น Competencies ใหม่ ความต้องการของงาน เทคโนโลยีใหม่ในการปฎิบัติงาน วิธีการใหม่ Competencies ของคน ความต้องการของบุคคล วิธีการทำงานของคน ทัศนคติ คุณค่าใหม่ในงาน

ระบบการพัฒนาจะมุ่งที่ทักษะ สมรรถนะ และความรู้ โดยจะเป็นการพัฒนาความสามารถทั้งแนวกว้างและแนวลึก รูปแบบการพัฒนาที่หลากหลาย และสมดุลระหว่าง Cost และ Quality โดยผสมผสานระหว่าง Agency-Run Training กับการพัฒนาในรูปแบบอื่น เช่น web-based training ระบบ horizontal development เพื่อสร้าง knowledge workers (เช่น ระบบ rotation) Competency Based Development Approach ระบบการพัฒนาทั้งในรูป On - the - Job และ Off- the - Job Training ระบบการสื่อสารทำความเข้าใจ ให้ข้าราชการรู้ว่าตนต้องมี competency อะไรบ้าง ระบบ Succession Planning Process ที่มีประสิทธิภาพ

วิธีการพัฒนาบุคคล การฝึกอบรมในห้อง/ทางไกล การศึกษาดูงานใน/ต่างประเทศ การศึกษาต่อใน/ต่างประเทศ การฝึกงาน การสอนงาน การเป็นพี่เลี้ยง การส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง การหมุนเวียนงาน การไปปฏิบัติงานองค์การภายนอก การย้ายภายในและข้ามสายงาน การมอบหมายให้เป็นผู้แทน การสับเปลี่ยนโยกย้าย การพาไปสังเกตการณ์

องค์การแห่งการเรียนรู้ Learning Organization - Peter Senge* องค์การซึ่งบุคคลในองค์การได้ขยายขอบเขตความสามารถของตนอย่างต่อเนื่องทั้งในระดับบุคคล ระดับกลุ่มและระดับองค์การเพื่อนำไปสู่จุดหมายที่ต้องการอย่างแท้จริง บุคคลได้เรียนรู้อย่างต่อเนื่องโดยวิธีการที่เรียนรู้ไปด้วยกันทั้งองค์การอย่างเป็นระบบ ต่อเนื่องและพร้อมเพรียงกัน *Sloan School of Management

หลัก 5 ประการ ในองค์การแห่งการเรียนรู้ 1. ความพร้อมของคนในการเรียนรู้ตลอดเวลา และต่อเนื่อง (Personal Mastery) 2. การวิเคราะห์สิ่งที่เรียนรู้เพื่อสร้างกรอบ ความคิดใหม่ (Mental Model) 3. การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความคิดเพื่อให้ ได้วิสัยทัศน์ร่วมกัน (Shared Vision) 4. การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Learning) 5. การนำสิ่งที่เรียนรู้มาคิดอย่างเป็นระบบ (System Thinking)

สิ่งที่จำเป็นต้องมีในองค์การแห่งการเรียนรู้ 1. มีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 2. มีการถ่ายทอดความรู้ไปทั่วทั้งองค์การ 3. มีการกระจายและแบ่งปันความรู้ที่ง่าย รวดเร็ว 4. มีความคิดเชิงวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ

5. มีการกระตุ้นให้คนในองค์การคิดสิ่งใหม่ ๆ 6. มีรางวัลให้บุคคล/กลุ่ม ที่นำผลการเรียนรู้ ไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 7. มีความสนใจต่อการพัฒนาและการเรียนรู้ เป็นรายบุคคล

ภาพเปรียบเทียบแนวคิดองค์การแบบดั้งเดิมและองค์การแห่งการเรียนรู้ องค์การที่มุ่งเน้นองค์ความรู้ หรือองค์การแห่งการเรียนรู้ ทัศนคติต่อการเปลี่ยนแปลง ถ้าของเดิมยังใช้การได้อยู่ จะเปลี่ยนไปทำไม? ถึงจะกำลังเปลี่ยนแปลงอยู่ก็ต้องทำใจว่า จะเป็นแบบนี้ไปอีกไม่นาน ถ้าเรื่องนี้เกิดขึ้นที่นี่ก่อน หรือเราปรับเรื่องนี้ก่อน ก็ไม่ต้องไปให้ความสนใจ ทัศนคติต่อแนวคิดใหม่ ๆ ถ้าเราไม่ได้เป็นผู้คิดเรื่องนี้ ก็ไม่ต้องไปสนใจหรอก ใครเป็นคนรับผิดชอบนวัตกรรมใหม่ ๆ หน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง เช่น ฝ่ายวิจัยและพัฒนา ทุกคนในองค์การ กลัวว่าจะไม่ได้มีการเรียนรู้ : ไม่มีการประยุกต์ใช้ กลัวทำผิด ความกลัว ประโยชน์ ด้านการแข่งขัน ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ และการบริการ ความสามารถในการเรียนรู้ ความรู้และความเชี่ยวชาญ หน้าที่ของนักบริหาร ควบคุมผู้อื่น สร้างความสามารถให้ผู้อื่น

สมรรถนะ(Competency) กลุ่มหรือชุดของความสามารถ (ความรู้และพฤติกรรม) ที่แสดงออกอย่างชัดเจนและสม่ำเสมอโดยผู้ที่ประสบ ความสำเร็จอย่างดีในการทำงาน คุณลักษณะประจำตัวที่จะทำงานของตำแหน่งงานนั้น ๆ ได้ดีที่สุด คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่แสดงออกและทำให้บุคลากรในองค์กรปฏิบัติงานได้โดดเด่นกว่าคนอื่น แสดงมากกว่า ในสถานการณ์หลากหลายกว่า ได้ผลงานดีกว่าผู้อื่น

Core Competency (สมรรถนะหลัก) องค์ประกอบของพฤติกรรม (Soft Skills)ปกติจะ กำหนดไว้เหมือนกันทุกคน ต่างกันที่ Degree ความมากน้อย Functional Competency (สมรรถนะเฉพาะ) องค์ประกอบของความรู้ ประสบการณ์ (Technical Skills) เนื้อหาเปลี่ยนไปตามตำแหน่งงาน

สมรรถนะหลัก คุณลักษณะร่วมของข้าราชการพลเรือนไทยทั้งระบบเพื่อ หล่อหลอมค่านิยม และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ ร่วมกัน 1.การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 5. ความร่วมแรงร่วมใจ 2.บริการที่ดี 4. จริยธรรม 3. การสั่งสม ความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ

สมรรถนะประจำกลุ่มงาน สมรรถนะที่กำหนดเฉพาะสำหรับกลุ่มงานเพื่อสนับสนุนให้ข้าราชการ แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมแก่หน้าที่ และส่งเสริมให้ปฏิบัติภารกิจในหน้าที่ได้ดียิ่งขึ้น แต่ละกลุ่มมีสมรรถนะประจำกลุ่มงาน ๆ ละ อีก 3 ด้าน นักบริหาร วิศวกรโยธา ช่างเขียนแบบ นว.คอมพิวเตอร์

กลุ่มงานอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม Core competencies 5 Functional competencies บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ 1.การควบคุมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 1. การมองภาพองค์รวม (Conceptual Thinking) 2.การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3.การกำหนดนโยบายการศึกษา เผยแพร่ 2. การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking) ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 4.การตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการพัฒนาต่าง ๆ 3. การสั่งการตามอำนาจหน้าที่

กลุ่มงานนโยบายและวางแผน (Policy and Planning) Core competencies Functional competencies 1. การมุ่งผลสัมฤทธิ์(Achievement Motivation) 1. การมองภาพองค์รวม (Conceptual Thinking) 2. การบริการที่ดี (Service Mind) 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise) 2. การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking) 4. จริยธรรม(Integrity) 3. ศิลปะการสื่อสารจูงใจ(Communication &Influencing) 5. ความร่วมแรงร่วมใจ(Synergy)

กลุ่มงานสนับสนุนหลักทั่วไป (General Support) Core competencies Functional competencies 1.การมุ่งผลสัมฤทธิ์(Achievement Motivation) 1.ความยืดหยุ่นผ่อนปรน (Flexibility) 2. การบริการที่ดี (Service Mind) 2. ความถูกต้องของงาน (Concern for Order) 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ(Expertise) 3. การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking) 4. จริยธรรม(Integrity) 5. ความร่วมแรงร่วมใจ(Synergy)

5 คำถามกับการสอนงาน รอบที่ สถานี 4 นาที 1 A 3 นาที 2 B 2 นาที 3 C 5 คำถามกับการสอนงาน รอบที่ สถานี 4 นาที 1 A 3 นาที 2 B 2 นาที 3 C 2 นาที 4 D 5 3 นาที E

1. ท่านคิดหรือคาดหวังอะไรบ้างจากการมาอบรมในครั้งนี้ 2. ปกติแล้วท่านจะสอนงานเมื่อใด 3. ท่านพบปัญหาอุปสรรคในการสอนงานอะไรบ้าง 4. ผู้บังคับบัญชาที่เป็นต้นแบบที่ดีในการสอนงานของกรมควบคุมมลพิษคือใคร ดีอย่างไร 5. ท่านคิดว่าการสอนงานมีประโยชน์อะไรบ้าง