เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
Advertisements

การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
“ การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ของพนักงานส่วน ท้องถิ่น ” ในระบบจำแนก ตำแหน่งเป็นประเภท ตามลักษณะงาน จัดทำโดย ฝ่ายส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากร กองการเจ้าหน้าที่
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินโครงการ ให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) น้ำหนั ก : LineStaff Line & Staff 777.
กลุ่มนโยบายและ แผน สพป. สท. 2 กลุ่มนโยบายและ แผน สพป. สท. 2.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 32 คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน (HR Scorecard) โดย นายชัยณรงค์ บุรินทร์กุล.
แนวทางการดำเนินงานและการจัดทำรายงานผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองปี
กรอบการประเมิน 4 มิติ DPIS (1/59)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การถ่ายทอดตัวชี้วัด เป้าหมาย เพื่อลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
โครงการประเมินสถานภาพ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล กรมตรวจบัญชีสหกรณ์
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
เรื่องเพื่อทราบ : ปฏิทินสรุปผลตรวจราชการปี รอบ 2/2561
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การดำเนินงานต่อไป.
โดย นายธนารัฐ สายเทพ กลุ่มงานวางแผนฯ กองการเจ้าหน้าที่ นอ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
PMQA หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56 การประเมินผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติภายใน ด้านการพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 PMQA GES เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56

ตัวชี้วัดมิติภายใน ด้านการพัฒนาองค์การ ปี 2556 ประเด็นการนำเสนอ ตัวชี้วัดมิติภายใน ด้านการพัฒนาองค์การ ปี 2556 แนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

กรอบการประเมินผลของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ10) มิติภายนอก มิติภายนอก (ร้อยละ70 ) การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ15) มิติภายใน (ร้อยละ30 ) การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ15) - ระดับความสำเร็จของการพัฒนา บุคลากร - ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงสารสนเทศ ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ - ระดับความสำเร็จในการดำเนินโครงการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ มิติภายใน

ตัวชี้วัดมิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ ประเด็นการประเมินผล ทุนมนุษย์ - การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (HRD) - การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (HRM) KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร ประเด็นการประเมินผล ทุนสารสนเทศ - ความพึงพอใจของผู้ใช้สารสนเทศ KPI 9 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ GES ด้านการพัฒนาองค์การ - ประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ KPI 10 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ประเด็นการประเมินผล ทุนองค์การ - ความสอดคล้องเชื่อมโยงกันในองค์การ - ความสำเร็จขององค์การ - การสร้างสิ่งใหม่ KPI 11 : ระดับความสำเร็จในการดำเนินโครงการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ

ตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การ KPI 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก รัอยละ 5  KPI 11.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์การ ร้อยละ 2  KPI 11.2 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร ร้อยละ 1.5  KPI 11.3 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร KPI 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ น้ำหนัก ร้อยละ 3  KPI 12.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจของผู้ใช้งานสารสนเทศ  KPI 12.2 จำนวนข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ KPI 13 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ  KPI 13.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ  KPI 13.2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ตัวชี้วัดที่ 14 ระดับความสำเร็จของการดำเนินโครงการสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ น้ำหนัก ร้อยละ 4

ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 11 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร

KPI 11.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญของ องค์การ น้ำหนัก ร้อยละ 2 ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 จัดส่งรายงานลักษณะสำคัญขององค์การ ภายหลังวันที่ 1 เมษายน 56 2 - 3 จัดส่งรายงานลักษณะสำคัญขององค์การ ภายในวันที่ 1 เมษายน 56 4 5 จัดส่งรายงานลักษณะสำคัญขององค์การ ภายในวันที่ 1 เมษายน 56 และรายงานมีความครบถ้วนและทันสมัย

KPI 11.2 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความ พึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก ร้อยละ 1.5

KPI 11.2 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อ ความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร (ต่อ) น้ำหนัก ร้อยละ 1.5

KPI 11.3 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก ร้อยละ 1.5 ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 จัดส่งแผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 2 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ไม่ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม และไม่สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ 3 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม แต่ไม่สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ หรือ ไม่ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม แต่สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ 4 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม และสอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ 5 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม และสอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ และผลการสำรวจครั้งที่ 2

ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ

KPI 12.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจ ของผู้ใช้งานสารสนเทศ น้ำหนัก ร้อยละ 1.5

KPI 12.2 การประเมินประสิทธิภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ น้ำหนัก ร้อยละ 1.5 เกณฑ์การให้คะแนน การประเมิน น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 12.2 จำนวนข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ 1.5   ≤6 7 8 9 10

แนวทางการตรวจประเมินเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ

แนวทางการตรวจประเมินเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ (ต่อ)

แนวทางการตรวจประเมินเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ (ต่อ)

แนวทางการตรวจประเมินเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ (ต่อ)

แนวทางการตรวจประเมินเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ (ต่อ)

ตัวชี้วัดที่ 13 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ

KPI 13.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อ ความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก ร้อยละ 1.5

KPI 13.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อ ความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก ร้อยละ 1.5

KPI 13.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อ ความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก ร้อยละ 1.5

เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน สูตรการคำนวณ 1 X2 ≥ Xmax 2 3 X2 = X1 4 5 KPI 11.2 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก ร้อยละ 1.5 KPI 12.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจของผู้ใช้งานสารสนเทศ KPI 13.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ กรณีที่ 1 : Gap ครั้งที่ 1 น้อยกว่าหรือเท่ากับค่าเฉลี่ยกลาง กรณีที่ 2 : Gap ครั้งที่ 1 มากกว่าค่าเฉลี่ยกลาง ระดับคะแนน สูตรการคำนวณ 1 X2 ≥ Xmax 2 3 X2 = X1 4 5 X2 ≤ ค่าเฉลี่ยกลาง ระดับคะแนน สูตรการคำนวณ 1 X2 ≥ Xmax 2 3 4 5 X2 ≤ X1 หมายเหตุ: X1 คือ Gap จากการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรภายในองค์การ ครั้งที่ 1 (17 ธ.ค. 55 – 4 ม.ค. 56) X2 คือ Gap จากการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรภายในองค์การ ครั้งที่ 2 (16 – 30 ก.ย. 56) Xmax คือ ค่าสูงสุดของค่าเฉลี่ยส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญ (Gap) ครั้งที่ 1 ของทุกส่วนราชการ   ทั้งนี้ “ค่าเฉลี่ยกลาง” และ “ค่า Xmax” สกพร.จะแจ้งพร้อมผลการสำรวจครั้งที่ 1 ผ่านระบบออนไลน์

ค่าเฉลี่ยกลาง และ Xmax KPI 11.2 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก ร้อยละ 1.5 KPI 12.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจของผู้ใช้งานสารสนเทศ KPI 13.1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 11.2 ตัวชี้วัดที่ 12.1 ตัวชี้วัดที่ 13.1 ค่าเฉลียกลาง 1.2 1.0 Xmax 2.0 1.9 Gap เฉลี่ยของทุกจังหวัด รอบที่ 1 ปี พ.ศ. 2556

KPI 13.2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก ร้อยละ 1.5 ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 จัดส่งแผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 2 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ไม่ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม และไม่สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ 3 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม แต่ไม่สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ หรือ ไม่ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม แต่สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ 4 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม และสอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ 5 แผนฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม และสอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ และผลการสำรวจครั้งที่ 2

ผลการสำรวจการพัฒนาองค์การ Survey Online จังหวัดนครสวรรค์

“GAP” ครั้งที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 Renewal HRM นโยบายและเป้าหมาย HRM ชัดเจน นำการเรียนรู้จากบุคลากร ผู้เกี่ยวข้อง มาปรับปรุงกระบวนการ ระบบงาน ขั้นตอนทำงาน การมอบหมายงานชัดเจน เหมาะสม งานท้าทาย ได้เรียนรู้/ประสบการณ์ การเสริมสร้างแรงจูงใจเพื่อรักษาบุคลากร ส่วนราชการปรับตัวได้ไวต่อการเปลี่ยนแปลง ฐานข้อมูลทรัพยากรบุคคล ถูกต้อง ทันสมัย นำมาใช้ประกอบการตัดสินใจ ส่งเสริมการทำงานเป็นทีม Execution กิจกรรมการเรียนรู้และสร้างความสัมพันธ์ แผน HRD สอดคล้องกับทิศทางและยุทธศาสตร์จังหวัด ผู้บังคับบัญชา/หัวหน้างาน ติดตามความคืบหน้า บุคลากรในจังหวัดมีความรู้ ทักษะ และสมรรถนะที่เหมาะสม สามารถขอคำปรึกษาจากผู้บังคับบัญชา/หัวหน้างาน ผู้บังคับบัญชา/หัวหน้างาน ช่วยส่งเสริมและพัฒนาการปฏิบัติงาน การให้รางวัล ยกย่องชมเชยบุคลากร HRD มุ่งมั่นตั้งใจ ยินดีที่จะปฏิบัติงานอย่างเต็มที่ ได้รับการพัฒนาความรู้ฯ จากความต้องการ และผลการประเมิน มีวัสดุอุปกรณ์เพียงพอ การพัฒนาความรู้ฯ ที่ได้รับช่วยให้ชำนาญ และปฏิบัติงานดีขึ้น ปริมาณงานสมดุลกับเวลาปฏิบัติงาน ระบบสารสนเทศช่วยให้ปฏิบัติงานต่อเนื่อง System สภาพแวดล้อมทำให้ทำงานอย่างมีความสุข การจัดการแก้ไขปัญหา ระบบ IT เมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน บุคลากรมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ข้อมูลและสารสนเทศของส่วนราชการถูกใช้สนับสนุนการปฏิบัติงาน ผู้บริหารสามารถบริหารฯ องค์การให้บรรลุเป้าหมาย ฐานข้อมูลใช้งานสะดวก เข้าถึงง่าย ค้นหาข้อมูลรวดเร็ว เข้าใจทิศทาง/กลยุทธ์ ฐานข้อมูลสนับสนุน Good/best Practices Alignment ระบบ IT เชื่อมโยงข้อมูลระหว่างหน่วยงาน Database Network

ระดับ “Gap” ด้านการพัฒนาบุคลากร ค่าเฉลียกลาง 1.2 Xmax 2.0 ระดับความเห็นด้วยจากมากไปน้อย

ระดับ “Gap” ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ค่าเฉลียกลาง 1.2 Xmax 2.0 ระดับความเห็นด้วยจากมากไปน้อย

ระดับ “Gap” ด้านวัฒนธรรมองค์การ ค่าเฉลียกลาง 1.0 Xmax 1.9 ระดับความเห็นด้วยจากมากไปน้อย

ตัวอย่างการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรและแผนพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ชื่อส่วนราชการ จังหวัดนครสวรรค์ ชื่อผู้รับผิดชอบหลัก/หน่วยงาน  กลุ่ม.... ปัจจัยการสำรวจ คำถามการสำรวจออนไลน์ Gap โครงการ/กิจกรรมในการพัฒนา ข้อมูลปัจจัยนำเข้าในการจัดทำแผนพัฒนาฯ * ตัวชี้วัด เป้าหมาย/ผลลัพธ์ หน่วยงานที่รับผิดชอบ  HRM หน่วยงาน/จังหวัด ที่ข้าพเจ้าปฏิบัติงานอยู่มีแนวทางในการเสริมสร้างแรงจูงใจเพื่อรักษาบุคลากรไว้ ซึ่งทำให้อัตราการโอน/ลาออกมีแนวโน้มลดลง   1.7  โครงการเสริมสร้างความผูกพันของบุคลากรต่อจังหวัดนครสวรรค์ - ค่า Gap - ความท้าทายด้านทรัพยากรบุคคล ร้อยละการโอน/ลาออกของบุคลากรที่ลดลง   ร้อยละ 20 กลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล

Q & A 02 356 9942, 02 356 9999 # 8916, 8915, 8804 wiriya@opdc.go.th www.opdc.go.th www.opdc.go.th