โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

สถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดเลย ปี 2556
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
Measles Elimination, Thailand Bureau of Epidemiology, DDC Bureau of General Communicable Diseases, DDC National Institute of Health, DMSc Bureau of Practical.
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
วันที่ 26 มกราคม 2556 เวลา น. งานระบาดวิทยาอำเภอท่าอุเทน ได้รับแจ้งจากงานห้องอุบัติเหตุและ ฉุกเฉิน โรงพยาบาลท่าอุเทน มีนักเรียน โรงเรียนแห่งหนึ่ง.
สอบสวนการระบาดโรคไข้หวัดใหญ่ ชนิด A (H1N1/2009) ตำบล A อำเภอเมืองยโสธร จังหวัด ยโสธร กุมภาพันธ์ 2558.
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
เป็น Novel Coronavirus พบครั้งแรก เม. ย ที่ซาอุดิอา ราเบีย กระจายไป 25 ประเทศ ส่วนใหญ่ตะวันออกกลาง ณ. 1 มิ. ย. 58 พบผู้ป่วยยืนยัน 1,154 ราย เสียชีวิต.
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
การจัดการควบคุมคุณภาพข้อมูล
สถานการณ์ ไข้เลือดออก อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2560
โรคไข้เลือดออกเขต 12.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization)
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 35
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
งานโรคติดต่อทั่วไปและโรคอุบัติใหม่ กลุ่มงานควบคุมโรค
การปรับเปลี่ยน การใช้วัคซีนโปลิโอ
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก สัปดาห์ที่ 51
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
Measles Situation, Thailand 2011 – May 2012
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด Polio and Measles Eradication Projects ศูนย์ประสานงานโครงการกวาดล้างโปลิโอและโรคหัด ตามพันธะสัญญานานาชาติ

พ.ศ. 2553 กระทรวงสาธารณสุขตกลงเห็นด้วยกับข้อเสนอการ กำจัดโรคหัด ซึ่งเป็นหัวข้อปรึกษาหารือร่วมกับ ประเทศอื่นในภูมิภาคในการประชุม World Health Assembly 2009 กระทรวงสาธารณสุข อนุมัติแผนดำเนินโครงการกวาด ล้างโปลิโอและโรคหัด พ.ศ. 2553-2563 และให้ กรมควบคุมโรคเป็นหน่วยงานประสานงาน มีกรมต่างๆ ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมการแพทย์ และสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

วัตถุประสงค์การดำเนินการ ลดอุบัติการณ์การเกิดโรคหัดในประเทศไทยไม่เกิน 1 รายต่อประชากรหนึ่งล้านคน ในปี 2563 (ไม่เกิน 5 รายต่อประชากรหนึ่งล้านในปี 2558)

การกำจัดโรคหัด เพิ่มและรักษาระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนหัด ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในทุกพื้นที่ จัดตั้ง เครือข่ายการตรวจเชื้อหัดทางห้องปฏิบัติการ ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานทั่วประเทศ เฝ้าระวังผู้ป่วยโรคหัด โดยมีการตรวจยืนยันเชื้อก่อโรคทางห้อง ปฏิบัติการในผู้ป่วยที่สงสัยโรคหัด ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ในทุกพื้นที่ รณรงค์ให้วัคซีนป้องกันโรคหัด หรือมาตรการเสริมอื่น เช่น การบริการวัคซีน ในประชากรวัยทำงาน เพื่อเพิ่มระดับความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในประชากรกลุ่มเสี่ยง

สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

การกำจัดโรคหัด (measles elimination) การไม่พบผู้ป่วยโรคหัดที่ติดเชื้อภายในประเทศ (Endemic measles case) ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน 12 เดือนขึ้นไป ภายใต้ระบบเฝ้าระวังโรคหัดที่มีประสิทธิภาพ

การเฝ้าระวังโรคหัด ระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ระบบที่มีประสิทธิภาพตามโครงการ ระบบปัจจุบัน (พ.ศ. 2553) 1. อัตราการรายงาน 1.1. มีรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัดไม่น้อยกว่า 2 ต่อแสนปชก.ระดับประเทศ (1,270 รายต่อปี) มีรายงาน 2,452 ราย (3.9 ต่อแสนปชก.) 1.2. มีรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัดไม่น้อยกว่า 1 ต่อแสนปชก. จากทุกอำเภอของประเทศ มีรายงานผู้ป่วยสงสัยโรคหัดจาก 573 อำเภอ (62% ของอำเภอทั้งหมดในประเทศ)

การเฝ้าระวังโรคหัด ระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ระบบที่มีประสิทธิภาพตามโครงการ ระบบปัจจุบัน (พ.ศ. 2553) 2. การตรวจยืนยันทางห้อง ปฏิบัติการ มีการส่งตรวจ measles IgM ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยที่รายงานเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง (ไม่นับผู้ป่วยในเหตุการณ์การระบาด) ยังไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูลผู้ป่วยแต่ละรายในระบบเฝ้าระวังกับผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

การเฝ้าระวังโรคหัด ระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ระบบที่มีประสิทธิภาพตามโครงการ ระบบปัจจุบัน (พ.ศ. 2553) 3. การตรวจวิเคราะห์สายพันธุ์ไวรัส มีการส่งตรวจ วิเคราะห์สายพันธุ์ไวรัสไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของเหตุการณ์การระบาด ยังไม่มีการเชื่อมโยงเหตุการณ์การระบาดกับผลการตรวจวิเคราะห์สายพันธุ์ไวรัสเท่าที่ควร

การเฝ้าระวังโรคหัด ระบบปัจจุบัน vs ระบบที่มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ระบบที่มีประสิทธิภาพตามโครงการ ระบบปัจจุบัน (พ.ศ. 2553) 4. การสอบสวนโรค มีการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายภายใน 48 ชั่วโมง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้ป่วยที่รายงานเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง สอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายแรกของพื้นที่, รายที่มีอาการรุนแรง, อายุน้อยกว่า 9 เดือน, เหตุการณ์การระบาด

ระบบเฝ้าระวังโรคหัดของประเทศไทยในปัจจุบัน ระบบปกติ (รายงาน 506) โครงการกำจัดโรคหัด 1. นิยามผู้ป่วยสงสัย ที่ต้องรายงาน ไข้สูง ไอ ผื่น + corynza / Conjuntivitis / Koplik’s spot หรือ แพทย์วินิจฉัย ไข้สูง ไอ ผื่น + corynza / conjuntivitis / Koplik’s spot หรือ แพทย์วินิจฉัย 2. การรายงานผู้ป่วยทันที Severe, admitted, death อายุน้อยกว่า 9 เดือน ทุกรายที่มา ร.พ. การรายงานและสอบสวนผู้ป่วยให้ได้ตามโครงการกำจัดโรคหัด ต้องไม่รอรายงานจาก ICD10 !!!

ระบบปกติ (รายงาน 506) โครงการกำจัดโรคหัด 3. การสอบสวนโรคและการตรวจทางห้อง ปฏิบัติการ - Severe, Death, อายุน้อยกว่า 9 เดือน, cluster, รายแรก สอบสวนเฉพาะรายทุกรายที่มา รพ. (Measles IgM ทุกราย) สอบสวนเหตุการณ์การระบาด (Measles IgM 10 – 20 ราย + 5 Throat swab) 4. ฐานข้อมูล R506: ข้อมูลทั่วไป, วันเริ่มป่วย, วันรับรักษา, ผลการรักษา ME เพิ่มตัวแปรประวัติวัคซีน, ประวัติสัมผัสโรค, ผล lab การรายงานและสอบสวนผู้ป่วยให้ได้ตามโครงการกำจัดโรคหัด ต้องไม่รอรายงานจาก ICD10 !!!

นิยามผู้ป่วย 1. เกณฑ์ทางคลินิก (Clinical Criteria) มีไข้ > 38 ํC และมีผื่นนูนแดงขึ้นขณะยังมีไข้พร้อมทั้งมีอาการไอ (Cough) ร่วมกับอาการอื่นๆ อีกอย่างน้อยหนึ่งอาการ ดังต่อไปนี้ มีน้ำมูก (Coryza) เยื่อบุตาแดง (Conjunctivitis) ตรวจพบ Koplik's spot 1-2 วันก่อนและหลังผื่นขึ้น

นิยามผู้ป่วย 2. เกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Criteria) 2.1. Serology test - Measles IgM ให้ผลบวก 2.2. Viral isolation - เพาะเชื้อจากสารคัดหลั่งทางเดินหายใจ โดย Throat swab culture หรือ Nasal swab culture

ประเภทผู้ป่วย 1. ผู้ป่วยสงสัย (Suspected case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการ ตามเกณฑ์ทางคลินิก หรือ แพทย์วินิจฉัยโรคหัด 3. ผู้ป่วยเข้าข่าย (Probable case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก ร่วมกับมีข้อมูลทางระบาดวิทยาเชื่อมโยงกับผู้ป่วยยืนยัน 2. ผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก และ มีผลบวกทางห้องปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง

นิยามผู้สัมผัสใกล้ชิด ผู้สัมผัสร่วมบ้าน ผู้ร่วมงาน หรือ ร่วมห้องเรียน ที่ต้องอยู่ในห้องเดียวกันเป็นประจำ ผู้ที่มีประวัติคลุกคลีใกล้ชิดกับผู้ป่วย ในระยะ 7 วันก่อนวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย เช่น แฟน เพื่อนสนิท

การรายงานผู้ป่วยเข้าสู่ระบบเฝ้าระวัง เพื่อการกำจัดโรคหัด ให้รายงานตั้งแต่ผู้ป่วยสงสัย พร้อมทั้งเก็บสิ่งส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ในผู้ป่วยสงสัยทุกรายที่มาโรงพยาบาล

เมื่อแพทย์พบผู้ป่วยหัดที่สถานบริการ ให้เจาะเลือดส่งตรวจ measles IgM ทุกราย - ระยะเวลาเจาะเลือดที่ดีที่สุด คือหลังผื่นขึ้น 4 – 30 วัน - หากผู้ป่วยมาเร็วมาก เช่น 1 วันหลังผื่นขึ้น ยังไม่ต้องเจาะเลือด อาจนัดมาเจาะเลือดภายหลัง หรือแจ้งเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาให้ติดตามในพื้นที่ ส่งเลือดที่ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ การตรวจไม่เสียค่าใช้จ่าย (รพ.มีค่าใช้จ่ายเฉพาะการเจาะเลือด และจัดส่ง) แจ้งเจ้าหน้าที่ระบาดวิทยาเพื่อดำเนินการสอบสวน และรายงานต่อไป

ระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่าง ที่มา : ฝ่ายไวรัสระบบประสาทและระบบไหลเวียนโลหิต NIH กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

เมื่อเจ้าหน้าที่ระบาด ได้รับรายงานผู้ป่วย สอบสวนเฉพาะราย (case investigation) สอบสวนผู้ป่วยสงสัยทุกรายที่เข้ารับการรักษา ในโรงพยาบาล ทั้งประเภทผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน พร้อมทั้งเก็บสิ่งส่งตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ ในผู้ป่วยสงสัยทุกราย ได้แก่ Measles IgM เพื่อทราบรายละเอียดของการเจ็บป่วย ยืนยันการวินิจฉัยโรค และ ตรวจสอบการระบาดที่อาจจะมีอยู่ในชุมชน

เมื่อสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะรายแล้ว ให้รายงานเข้าฐานข้อมูลสำนักระบาดวิทยา เข้า website สำนักระบาดวิทยา  โครงการกำจัดโรคหัด  ฐานข้อมูลกำจัดโรคหัด กรอกข้อมูลการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย หรือการระบาด รวมทั้งข้อมูลวันที่เจาะเลือด เมื่อมีผลการเจาะเลือดแล้ว กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จะ รายงานให้ทราบทาง website นี้

การตรวจยืนยันการติดเชื้อไวรัสหัด ตรวจหา IgM ด้วยวิธี ELISA (ผู้ป่วยทุกราย) เจาะเลือดครั้งเดียว ช่วง 4-30 วัน หลังผื่นออก เจาะ 3-5 มล. ดูด serum ส่งกรม/ศูนย์วิทย์ฯ ภายใต้ระบบลูกโซ่ความเย็น (ไม่ควรเก็บ serum ไว้นานเกิน 3 วัน) รายงานผลได้ภายใน 48 ชั่วโมง

เกณฑ์ในการออกสอบสวนโรคในพื้นที่ มีผู้ป่วยสงสัยโรคหัดเป็นกลุ่มก้อน เมื่อสอบสวนผู้ป่วย Index case แล้วพบว่าผู้สัมผัสใกล้ชิด มีอาการป่วยสงสัยโรคหัดร่วมด้วย ผู้ป่วย Index case มีผลการตรวจ Measles IgM ให้ผลบวก ผู้ป่วย Index case มาจากพื้นที่ที่ความครอบคลุมของวัคซีนต่ำ ได้แก่ - Measles หรือ MMR เข็มที่ 1 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กอายุ 1 - 2 ปี (นับจากวันเริ่มป่วยของผู้ป่วย index case) ในระดับตำบล - MMR เข็มที่ 2 ต่ำกว่าร้อยละ 95 ในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียน

การสอบสวนเหตุการณ์การระบาด (outbreak investigation) กรณีที่เกิดโรคเป็นกลุ่มก้อน ให้ทำการสอบสวนการระบาดทันทีโดย - ใช้แบบสอบสวนโรคเฉพาะราย (ME1 form) หรือทะเบียนผู้ป่วยในการสอบสวนเหตุการณ์การระบาดของโรคหัด (ME2 form) - เก็บสิ่งส่งตรวจในผู้ป่วยสงสัย ได้แก่ Measles IgM ประมาณ 10 – 20 ตัวอย่าง ของผู้ป่วยสงสัยในเหตุการณ์ - สุ่มตัวอย่าง Throat / Nasal swab จำนวนไม่เกิน 5 ตัวอย่างเพื่อส่งตรวจ Genotype ของไวรัสโรคหัด ด้วยวิธี PCR เพื่อยืนยันเชื้อก่อโรคและสายพันธุ์ หาที่มาของการระบาดและควบคุมโรค

การตรวจวิเคราะห์หาสายพันธุ์ของไวรัสหัด รายงานผลได้ภายใน 1 เดือน (เฉพาะเมื่อสอบสวนการระบาดที่เป็นกลุ่มก้อน) Throat swab : 1-5 วัน หลังผื่นออก Nasal swab : 1-5 วัน หลังผื่นออก รายงานผลได้ภายใน 1 เดือน

ระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่าง ที่มา : ฝ่ายไวรัสระบบประสาทและระบบไหลเวียนโลหิต NIH กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์

รายงานการระบาดผู้ป่วยยืนยันโรคหัด (IgM positive) ประเทศไทย 2556 ลำดับ จังหวัด สถานที่ จำนวน (คน) อายุ วันเริ่มป่วย ลักษณะประชากร 1 ราชบุรี ศูนย์พักพิงบ้านถ้ำหิน 13 6 เดือน - 38 ปี 3 ม.ค.-12 ก.พ. กระเหรี่ยง โรคระบาดจากพม่า 2 สุรินทร์ โรงเรียนบ้านโจรก 8 11-13 ปี 10 – 22 ก.พ. เด็กไทย 3 แม่ฮ่องสอน ศูนย์พักพิง แม่ลามาหลวง 23 6 เดือน - 44 ปี 7 มี.ค.-24 เม.ย.

รายงานการระบาดผู้ป่วยยืนยันโรคหัด (IgM positive) ประเทศไทย 2556 ลำดับ จังหวัด สถานที่ จำนวน (คน) อายุ วันเริ่มป่วย ลักษณะประชากร 4 ตาก โรงเรียนรวมไทยพัฒนา 7 1-6 ปี 15 มี.ค.-14 เม.ย. ชายแดนพม่า, Low vaccine coverage 5 นครปฐม เรือนจำ 10 22-31 ปี 30 เม.ย.-5 พ.ค. ชายไทย 6 มหา สารคาม 26 20-34 ปี 25 มี.ค. – 6 มิ.ย.

วัคซีน : ความหมายในการป้องกัน และควบคุมการระบาดของโรค วัคซีน : ความหมายในการป้องกัน และควบคุมการระบาดของโรค เป็นเครื่องมือที่ทรงประสิทธิภาพ ในการป้องกันโรค แต่ ไม่ได้เป็นเครื่องมือที่ทรงประสิทธิภาพในการควบคุมโรค

การให้บริการวัคซีน 2558 ไม่ต้องให้ ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน MMR ในอดีต แล้วให้วัคซีน MR ครั้งนี้* ดังตาราง ประวัติการได้รับวัคซีน ในอดีต การให้วัคซีนครั้งนี้ ไม่เคยได้รับวัคซีน/ไม่ทราบ 1 เข็ม แล้วให้อีก 1 ครั้งเมื่อเข้าเรียนชั้น ป.1 เคยได้ 1 เข็ม 1 เข็ม (ห่างกันอย่างน้อย 1 เดือน) เคยได้ 2 เข็ม (เข็มสุดท้ายอายุตั้งแต่ 18 เดือน) ไม่ต้องให้ วัคซีน MR ครั้งนี้* : เด็กเกิด 1 มิย. 51 ถึง 31 มค. 55

เกณฑ์การระบาด พบผู้ป่วยสงสัยโรคหัด 2 ราย ภายในระยะเวลา 14 วัน ในหมู่บ้าน/ชุมชน/สถานที่มีบุคคล รวมกันเป็นจำนวนมาก

แนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัด  เด็กก่อนวัยเรียน (อายุ < 7 ปี)  เด็กวัยเรียน  ผู้ใหญ่  พื้นที่ใกล้เคียงที่ยังไม่มีการระบาด เกิดการระบาดโรค 1 2 ระยะฟักตัว (8-12 วัน)

> 95% < 95% หรือ ไม่สามารถประเมิน หรือ ไม่แน่ใจ การระบาดในเด็กก่อนวัยเรียน (อายุต่ำกว่า 7 ปี) ประเมินสภาพการดำเนินงานป้องกันโรคในพื้นที่ ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนหัด/MMR > 95% < 95% หรือ ไม่สามารถประเมิน หรือ ไม่แน่ใจ ติดตามเด็กเฉพาะราย ที่ยังไม่ได้รับวัคซีน มารับวัคซีนทันที  ให้ MMR แก่เด็ก > 9 เดือน ถึง 6 ปี ทุกคน ในหมู่บ้าน + หมู่บ้านที่มีการถ่ายทอดโรค  ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม. หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก  ไม่ให้ MMR แก่เด็ก < 9 เดือน แต่ให้แยกเลี้ยงเด็ก เพื่อไม่ให้เด็กคลุกคลีกับผู้ป่วย

แนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัด  เด็กก่อนวัยเรียน (อายุ < 7 ปี)  เด็กวัยเรียน  ผู้ใหญ่  พื้นที่ใกล้เคียงที่ยังไม่มีการระบาด เกิดการระบาดโรค 1 2 ระยะฟักตัว (8-12 วัน)

การระบาดในเด็กวัยเรียน (ป.1 - ม.6) ตรวจสอบประวัติการได้รับ MMR เมื่อเข้าเรียนชั้น ป.1** ของเด็กแต่ละคนทุกชั้นเรียน ดูหลักฐานยืนยัน ได้รับ ไม่ได้รับ/ไม่สามารถประเมิน/ไม่แน่ใจ ไม่ต้องให้ MMR  ให้ MMR  ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม. หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก ** เด็กที่มีหลักฐานว่าได้ MMR เมื่ออายุ 4-6 ปี ไม่ต้องให้ MMR ในการควบคุมโรค

แนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัด  เด็กก่อนวัยเรียน (อายุ < 7 ปี)  เด็กวัยเรียน  ผู้ใหญ่  พื้นที่ใกล้เคียงที่ยังไม่มีการระบาด เกิดการระบาดโรค 1 2 ระยะฟักตัว (8-12 วัน)

อัตราป่วย รายกลุ่มอายุ การระบาดในผู้ใหญ่ ประเมินอัตราป่วยรายกลุ่มอายุตาม “แบบประเมินอัตราป่วยเพื่อขอรับวัคซีน MMR ในการควบคุมโรค” 1. ผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนปี 2533 กลุ่มอายุ & ขอบเขตการให้วัคซีน ขึ้นอยู่กับผลการสอบสวน และแบบประเมินฯ อัตราป่วย รายกลุ่มอายุ < 2 % > 2 % ไม่ให้ MMR ให้ MMR ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม. หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก ห้ามให้ในหญิงมีครรภ์

การระบาดในผู้ใหญ่ (ต่อ) การระบาดในผู้ใหญ่ (ต่อ) 2. ผู้ใหญ่ที่เกิดตั้งแต่ปี 2533 ตรวจสอบการได้รับ MMR เมื่อเข้า ป.1 ประวัติวัคซีน MMR เมื่อเข้า ป.1 ได้รับ ไม่เคยได้รับ/ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ ไม่ให้ MMR ให้ MMR ควรให้แล้วเสร็จภายใน 72 ชม. หลังรับรายงานผู้ป่วยรายแรก ห้ามให้ในหญิงมีครรภ์

แนวทางการให้วัคซีนป้องกันและควบคุมโรคหัด - ไม่แนะนำให้วัคซีนเพื่อการควบคุม โรคหัด - ให้ดำเนินการแบบระยะก่อนเกิดโรค เกิดการระบาดโรค ระยะฟักตัว > 1 เดือน 1 2 ระยะฟักตัว (8-12 วัน)

ข้อแนะนำสำหรับพื้นที่ที่ไม่มีการระบาด มีโรคหัดเกิดขึ้นในพื้นที่ สสอ./สสจ แจ้ง พื้นที่ใกล้เคียง ค้นหากลุ่มเสี่ยง ตรวจสอบประวัติได้รับวัคซีน เด็กในพื้นที่ทุรกันดาร เด็กด้อยโอกาส เด็กแรงงานต่างชาติ  เด็กก่อนวัยเรียน  เด็กวัยเรียน (ป.1 – ม.6) ให้ MMR ตามประวัติการได้รับวัคซีน ให้ MMR ทุกคน

มาตรการด้านวัคซีน ในระยะต่อไป

ข้อเสนอมาตรการในกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี เพิ่มและรักษาระดับภูมิคุ้มกันในเด็ก ปรับอายุการให้วัคซีน MMR เข็มที่สอง จากเดิมให้บริการในชั้น ป.1 ปรับให้เร็วขึ้น เป็นอายุ 2 ปีครึ่ง (พร้อม JE3)

ข้อเสนอมาตรการในบุคคลอายุมากกว่า 5 ปี ติดตามให้วัคซีนในนักเรียนประถมและมัธยม และออกบัตรรับรองการได้รับวัคซีน ทำข้อตกลงกับกระทรวงศึกษาธิการ ตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนเมื่อเข้าเรียนทุกระดับชั้น (อนุบาล ถึง ปริญญา) รณรงค์ Mop up วัคซีนในกลุ่มผู้ใหญ่ที่อยู่รวมกันจำนวนมาก เช่น ในโรงงาน ค่ายทหาร

สำเนาคู่ฉบับ ที่ สธ ๐๔๒๒.๓/ว 356 กระทรวงสาธารณสุข ที่ สธ ๐๔๒๒.๓/ว 356 กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ 9 กรกฎาคม ๒๕๕๗ เรื่อง การปรับอายุของเด็กในการให้วัคซีน MMR เข็มที่ ๒ จากอายุ ๗ ปี เป็นอายุ ๒ ปีครึ่ง เรียน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัด สิ่งที่ส่งมาด้วย เอกสารกำกับยาวัคซีน PriorixTM (วัคซีนป้องกันโรคหัด คางทูม และหัดเยอรมัน) จำนวน 5 แผ่น เอกสารกำกับยาวัคซีน M-M-R II (วัคซีนป้องกันโรคหัด คางทูม และหัดเยอรมัน) จำนวน 6 แผ่น ตัวอย่างแบบฟอร์มขอเบิกวัคซีนในงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (แบบ ว.3/1)จำนวน 1 แผ่น

เรื่อง โครงการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในนักเรียนเมื่อรับเข้าเรียน ที่ สธ ๐๔๒๒.๓/ กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ ธันวาคม 2556 เรื่อง โครงการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในนักเรียนเมื่อรับเข้าเรียน เรียน นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัด สิ่งที่ส่งมาด้วย 1. โครงการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในนักเรียนเมื่อรับเข้าเรียน จำนวน 1 ชุด 2. สำเนาหนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานด่วนที่สุด ที่ ศธ 04188/327 ลงวันที่ 20 มิถุนายน 2556 จำนวน 1 แผ่น 3. สำเนาหนังสือสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานด่วนที่สุด ที่ ศธ 04188/707 ลงวันที่ 24 ธันวาคม 2556 จำนวน 1 แผ่น 4. แนวทางการตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนในนักเรียนเมื่อรับเข้าเรียน จำนวน 1 ขุด 5. ตัวอย่าง “บัตรรับรองการได้รับวัคซีนในนักเรียน ชั้น ป. 6” จำนวน 1 แผ่น

“ร่าง” บัตรรับรองการได้รับวัคซีนในนักเรียนชั้น ป. 6 ด้านหลัง ด้านหน้า