บทที่ 1 Probability.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
Advertisements

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
สัญญาณพื้นฐานในระบบโทรศัพท์
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
การเขียนโครงร่างวิจัย
ค คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม การแทนกราฟ.
ผู้ลี้ภัยการเมือง จัดทำโดย นางสาว อำพันธ์ แสนคำวัง ลำดับ 106.
CPE Project 1 บทที่ 3.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
Pushdown Automata : PDA
ไฟไนต์ออโตมาตาที่คาดเดาไม่ได้ (Non-deterministic Finite Automata)
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
การออกแบบออโตมาตาจำกัดเชิงกำหนด ( DFA )
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
บทที่ 4 ลงมือพัฒนา โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงการ ( Project) หมายถึง โครงการ ( Project) หมายถึง.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ผังงาน..(Flow Chart) หมายถึง...
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
หน้าที่ของประโยค. ประโยคต่างๆ ที่ใช้ในการสื่อสารย่อมแสดงถึงเจตนา ของผู้ส่งสาร เช่น บอกกล่าว เสนอแนะ อธิบาย ซักถาม ขอร้อง วิงวอน สั่งห้าม เป็นต้น หากจะแบ่งประโยคตามหน้าที่หรือลักษณะที่ใช้
หน้าที่ของประโยค. ประโยคต่างๆ ที่ใช้ในการสื่อสารย่อมแสดงถึงเจตนา ของผู้ส่งสาร เช่น บอกกล่าว เสนอแนะ อธิบาย ซักถาม ขอร้อง วิงวอน สั่งห้าม เป็นต้น หากจะแบ่งประโยคตามหน้าที่หรือลักษณะที่ใช้
การสุ่มตัวอย่าง สส ระเบียบวิจัยการสื่อสาร สื่อสารประยุกต์ ภาคพิเศษ
ทฤษฏีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม
อนุกรมอนันต์และการลู่เข้า
วิชาทฤษฎีสี รหัสวิชา FAD1104
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
บทที่ 5 เครื่องมือสืบค้นข้อมูล (Search Engine)
เคสและเพาเวอร์ซัพพลาย
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
BC320 Introduction to Computer Programming
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
B92 Protocol Alice สุ่ม string a string a (data bits)
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
กลุ่มเกษตรกร.
สมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
วิชาทฤษฎีสี รหัสวิชา FAD1104
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง.
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
มาฝึกสมองกันครับ.
บทที่ 5 : ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส.
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
Chapter 5: Probability distribution of random variable
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ตัวแบบมาร์คอฟ (Markov Model)
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
เริ่มต้นสร้างบล็อกเวิร์ดเพรส
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
1.3.1 การบริกรรมคือนึกพุทโธ
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
สื่อการเรียนรู้เรื่อง ความงามของศิลปะด้าน จิตรกรรม โดย นายกิตติพงษ์ คงโต โรงเรียนหนองกรดพิทยาคม.
สื่อประกอบการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 Probability

Set Theory นิยาม : เซต คือ ที่รวมหรือกลุ่มของสิ่งต่างๆซึ่งมีคุณสมบัติ (คำอธิบาย) แน่ชัด โดยที่เราสามารถบอกได้ว่า สิ่งหนึ่งสิ่งใดอยู่ในเซตหรือไม่ เราจะเรียก สิ่งที่อยู่ในเซตว่า สมาชิก (element or member point) ของเซต • เซตจำกัด (finite set) : จำนวนสมาชิกจำกัด (นับสิ้นสุดได้) • เซตอนันต์ ( infinite set): จำนวนสมาชิกไม่จำกัด (นับไม่สิ้นสุด)

ให้ A เป็นเซตของผลไม้, A = {สับปะรด, ทุเรียน, มังคุด, ลำไย, ลิ้นจี่} จำนวนสมาชิกของ A, n(A)=5 ให้ B เป็นเซตสีของรุ้ง จะได้ B = {สีม่วง, สีคราม, สีน้ำเงิน, สีเขียว, สีเหลือง, สีแสด, สีแดง} และ n(B)=7 ถ้าเราสามารถเขียนและนับจำนวนสมาชิกในเซตได้ชัดเจนแบบนี้ จะเรียกว่าเป็น เซตจำกัด (Finite Set)  จะใช้สัญลักษณ์  แทนคำว่า “เป็นสมาชิกของ” เช่น ทุเรียน  A, สีแดง  B และจะใช้สัญลักษณ์  แทนคำว่า “ไม่เป็นสมาชิก ของ” เช่น สีดำ  B

C={x  I | x<3} เมื่อ I เป็นเซตของจำนวนเต็ม ให้ C เป็นเซตของจำนวนเต็มที่น้อยกว่า 3 จะได้ C = {2, 1, 0, -1, …} ในกรณีนี้จะเห็นว่าจำนวนสมาชิกของเซตมีมากมายนับไม่ถ้วน ดังนั้น จึงหา n(C) ไม่ได้ เราเรียกเซตลักษณะนี้ว่า เซตอนันต์ (Infinite Set)  เราสามารถอธิบายเซตในลักษณะเป็นเงื่อนไขแทนการแจกแจงสมาชิก เช่น  C={x    I | x<3} เมื่อ I เป็นเซตของจำนวนเต็ม

สำหรับเซตที่ไม่มีสมาชิกอยู่เลย จะเรียกว่า เซตว่าง (Empty Set หรือ Null Set) จะใช้สัญลักษณ์ { },   เช่น ให้ D เป็นเซตของชื่อจังหวัดในประเทศไทยที่ขึ้นต้นด้วยตัว ฟ จะได้ D={ } และ n(D) = 0 เซตที่มีสมาชิกเหมือนกัน (ตำแหน่งจะสลับกันก็ได้) จะเป็นเซตที่เท่ากัน เช่น A = {1, 2, 3}         B = {3, 1, 2}   กล่าวได้ว่า   A = B โดยปกติแล้ว สมาชิกในเซตจะถูกกำหนดขอบเขตไว้จำกัด จะเรียกขอบเขตนั้นว่าเอกภพสัมพัทธ์ (Universal set) เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์   และสมาชิกของเซตที่กล่าวถึงจะต้องเป็นสมาชิกของ    เท่านั้น

Universal/Null Set Universal Set (เอกภพสัมพัทธ์) นิยาม : เซตที่รวมสมาชิกทั้งหมดที่อยู่ในขอบข่ายในการพิจารณาของเรา สัญลักษณ์: Empty Set /Null Set (เซตว่าง) นิยาม : เซตที่ไม่มีสมาชิกใดๆอยู่เลย

สับเซต (Subset)  สับเซต หมายถึงเซตย่อย เช่นหากกล่าวว่า B เป็นสับเซตของ A (B    A) ถ้าสมาชิกทุกตัวของ B เป็นสมาชิกของ A และควรจำไว้ว่า เซตว่างเป็นสับเซตของทุกเซต Ex จงหาสับเซตทั้งหมดของ A เมื่อ A = {2, 4, 6, 8} Soln จำนวนสับเซตทั้งหมดหาได้จาก 2n เมื่อ n=จำนวนสมาชิกในเซต ดังนั้น A จะมีสับเซตทั้งหมด 24=16 สับเซต ดังนี้  {2}  {4}  {6}  {8} {2, 4}  {2, 6}  {2, 8}  {4, 6}  {4, 8}  {6, 8} {2, 4, 6}  {2, 6, 8}  {2, 4, 8}  {4, 6, 8} {2, 4, 6, 8}

เพาเวอร์เซต (Power set) หมายถึงเซตของสับเซต จะเขียนแทนเพาเวอร์เซตของเซต A ด้วย P(A) วิธีหาเพาเวอร์เซต จะต้องหาสับเซตทั้งหมดให้ได้ก่อน จากนั้นจึงใส่เซตครอบลงไป จากตัวอย่างข้างต้น จะได้เพาเวอร์เซต P(A) = {  , {2}, {4}, {6}, {8}, {2, 4}, {2, 6}, {2, 8}, {4, 6}, {4, 8}, {6, 8}, {2, 4, 6}, {2, 6, 8}, {2, 4, 8}, {4, 6, 8}, {2, 4, 6, 8}}

สัญลักษณ์ เซต ใช้ตัวพิมพ์ใหญ่, สมาชิก ใช้ตัวพิมพ์เล็ก

Set Operations ในทฤษฎีเซต จะมีปฏิบัติการที่เราจะสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเซตต่างๆ 3 แบบด้วยกัน Intersection Union Complement

Algebra of Sets 1. , 2. , 3. 4.

Algebra of Sets (ต่อ) 5. 6.

การดำเนินการของเซต (Set Operations) การดำเนินการของเซตจะทำให้ได้เซตใหม่เกิดขึ้น (แสดงด้วยส่วนที่แรเงาสีเทา) หลักๆแล้ว มีอยู่ 4 แบบ ดังนี้ 1) ยูเนี่ยน (Union): ทำให้เกิดเซตใหม่ซึ่งสมาชิกมาจากทั้งสองเซต

2) อินเตอร์เซกชั่น (Intersection): เซตใหม่ที่ได้เป็นสมาชิกร่วมกันของทั้งสองเซต

3) ผลต่าง (Difference): ถ้าหาผลต่างของ A-B จะได้เซตผลลัพธ์เป็นเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่อยู่ใน A แต่ไม่อยู่ใน B

4) คอมพลีเมนต์ (Complement): คอมพลีเมนต์ของ A เขียนแทนด้วย A’ คือสมาชิกทุกตัวที่เหลือในเอกภพสัมพัทธ์ยกเว้น A