Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายเอกพล หิรัณยเอกภาพ และคณะ กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ SCORPion.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 5 ระบบวิทยุสื่อสาร.
Advertisements

เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
Server Object. 2 z ใช้ในการควบคุม และบริหารเว็บเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งทำด้วยการเขียนสคริปต์ใน แอปพลิเคชั่น ASP ( โดยเรียกใช้เมธอด หรือกำหนดค่าพรอพเพอร์ตี้ของ.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
การสร้างวงจรถอดรหัส Turbo Code SCORPion นายศิริชัย แซ่หว่อง
สรุปความก้าวหน้าโครงการ 3G กลุ่ม 2 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ล่วงหน้าเบสแบนด์ 28 พฤษภาคม G Research Project 3G Research Project Thai Wireless Consortium.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายลูกา เนตรเนรมิต, นายนิพนธ์ พิมพ์พืช และนายสัณห์ อุทยารัตน์ กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization SCORPion Research Group EE Department, Kasetsart University, Thailand 3G Research.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization Layer 1 Baseband Processor Implementation for 3GPP Systems SCORPion Research Group.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายลูกา เนตรเนรมิตร, นาย สัณห์ อุทยารัตน์ และนาย นิพนธ์ พิมพ์พืช กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization ความก้าวหน้าในการพัฒนาส่วนประมวลผล สัญญาณเบสแบนด์ ด้วยชิป DSP SCORPion Research.
การสื่อสารข้อมูลเบื้องต้น Data Communication
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization SCORPion Research Group EE Department, Kasetsart University, Thailand 3G Research.
การรับส่งข้อมูลระหว่าง Group 1 กับ Group 2
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization ความก้าวหน้าในการพัฒนาส่วนประมวลผล สัญญาณเบสแบนด์ ด้วยชิป FPGA SCORPion Research.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization SCORPion Research Group EE Department, Kasetsart University, Thailand 3G Research.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายลูกา เนตรเนรมิต และ คณะ กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ SCORPion.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายลูกา เนตรเนรมิตร กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ SCORPion Research.
สรุปความก้าวหน้า Group 2 Preprocessing Unit April 30, เมษายน G Research Project 3G Research Project Thai Wireless Consortium (TWC) Thai Wireless.
We Bring Networking to Your Life ™ S uperior CO mmunications R esearch and P rototyp i ng for c o mmercializatio n การประชุม SCORPion Research Group แนวทางในการทดสอบความถูกต้อง.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายเอกพล หิรัณย เอกภาพ และคณะ กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ SCORPion.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นาย ศิริชัย แซ่หว่อง นาย เอกพล หิรัณย เอกภาพ กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ด้วยชิป.
การรับส่งข้อมูลระหว่าง Group 2 กับ Group 3 ในสถานีเคลื่อนที่ (Mobile Station) 2 พฤษภาคม G Research Project 3G Research Project Thai Wireless Consortium.
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายสัณห์ อุทยารัตน์ ส่วนประมวลผลสัญญาณดิจิตอล เบสแบนด์ด้วยชิป DSP SCORPion Research.
รายชื่อผู้จัดทำ ด.ช.จิณณวัตร ทับจันทร์ เลขที่ 1 ม.1/3 ด.ช.ฐิติพงศ์ โลหะเวช เลขที่ 4 ม.1/3 ด.ช. พงศ์ภัค พุทธรักษ์ เลขที่9 ม.1/3 ด.ช.อริยะ แดงงาม เลขที่
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization น. ส. ศันสนีย์ เนติโรจนกุล กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ด้วยชิป.
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การสื่อสารข้อมูล.
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
1. พัฒนาและออกแบบระบบเพื่อง่ายต่อการบันทึกและ การออกรายงาน 2. พัฒนาและออกแบบระบบเพื่ออำนวยความสะดวก ให้แก่บุคลากรภายในศูนย์อุทกวิทยาและบริหารน้ำ.
เตชิษฐ์ เรือง ไพศาล.  คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ไฟฟ้า กระแสตรงทำงาน  ข้อมูลภายในเป็นข้อมูลดิจิตอล  …..  แทนข้อมูลเหล่านี้ด้วยแรงดันไฟฟ้า.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
Case Study.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
Educational Information Technology
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
การวิเคราะห์การเปรียบเทียบ OFDM ด้วยโปรแกรม Matlab simulation กับ
การแปลงสัญญาณ ดิจิตอล เป็น อนาล็อก Digital to Analogue Conversion
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
Basic Input Output System
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
บทสรุป ระดับของข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็น 3 ระดับ
SMS News Distribute Service
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
หลักสูตรการบำรุงรักษาระบบโทรศัพท์
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
I/O Interfacing :: x86, ISA Bus
เมนูหลัก ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization นายเอกพล หิรัณยเอกภาพ และคณะ กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ SCORPion Research Group EE Department, Kasetsart University, Thailand 3G Research Project Meeting March 20, 2004 SIIT ผลการทดสอบส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ฝั่งส่งและ แนวทางการทดสอบการประมวลผลแบบ วนกลับ

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization หัวข้อนำเสนอ  ส่วนประมวลผลสัญญาณดิจิตอลเบสแบนด์ฝั่งส่ง ด้านสถานีเคลื่อนที่  ส่วนประมวลผลสัญญาณดิจิตอลเบสแบนด์ฝั่งส่ง ด้านสถานีฐาน  แนวทางการทดสอบวนกลับ (Loop Back)  สรุปและแผนงานต่อไป

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization ส่วนประมวลผลสัญญาณดิจิตอลเบสแบนด์ฝั่งส่ง ด้านสถานีเคลื่อนที่

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization ส่วนประมวลผลสัญญาณดิจิตอลเบสแบนด์ฝั่งส่ง ด้านสถานีเคลื่อนที่ [2]  ทดสอบการประมวลผลสัญญาณโดยใช้ พารามิเตอร์แบบตายตัว (Fixed Parameter) ที่ ช่องสัญญาณ 384 Kbps (Data Channel) ซึ่ง เป็นช่องสัญญาณที่สถานีเคลื่อนที่รองรับได้มาก ที่สุด  จะใช้ EDMA (Enhanced Direct Memory Access) สำหรับส่งข้อมูลผ่าน Parallel ports เข้า บอร์ด DAC (Digital to Analog Converter)

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization ส่วนประมวลผลสัญญาณดิจิตอลเบสแบนด์ฝั่งส่ง ด้านสถานีเคลื่อนที่ [3]  ใช้การประมวลผลรวมทั้งหมด 329 MHz ( ประมวลผล ตั้งแต่ CRC ถึง RRC filter) ซึ่งคิดเป็น 5.48 ms  การส่งข้อมูลออกไปยัง DAC จะใช้ไป 111 MHz ซึ่งคิด เป็น 1.86 ms  ส่วนการใช้ Internal memory จะใช้ไปทั้งหมด KB

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization ส่วนประมวลผลสัญญาณดิจิตอลเบสแบนด์ฝั่งส่ง ด้านสถานีเคลื่อนที่ [4]

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization ส่วนประมวลผลสัญญาณดิจิตอลเบสแบนด์ ฝั่งส่ง ด้านสถานีฐาน Transport Channel Processing (Tx) CRC TrbCc/ CdbSg ChCdRM1 st DTX 1 st Intl Transport Channel Processing Controller (Tx) 2 nd DTX Dedicated downlink physical channel Processing (DPCH, Slot) 2 nd Intl PhyCH Map Slot format Spread OVSF ScramblingGain RRC filter Power Control (Control Channel gain) Dedicated downlink physical channel Processing (DPCH, Radio frame) Downlink Processing Basestation Module TX Power Control Send TPC to Mobile) TFCI Fixed controller RAM CCTrCH Processing (TX) Phy ch Processing (TX) RAM FIFO DAC MHz

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization ส่วนประมวลผลสัญญาณดิจิตอลเบสแบนด์ฝั่งส่ง ด้านสถานีฐาน [2] ParameterUni t Level Information bit rate Kbp s 384 DPCHksp s 480 Slot Format # i -15 TFCIOn Power offsetsdB0 Puncturing%22 ParameterDTCHDCCH Transport Channel Number 12 Transport Block Size Transport Block Set Size Transmission Time Interval 10 ms40 ms Type of Error Protection Turbo Coding Conv. Coding Coding Rate1/3 Rate Matching attribute 256 Size of CRC1612 Position of TrCH in radio frame fixedFixed  ทดสอบโดยการ สร้างช่องสัญญาณ ตามช่องสัญญาณ อ้างอิงขนาด 384k เท่านั้น

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization ส่วนประมวลผลสัญญาณดิจิตอลเบสแบนด์ฝั่งส่ง ด้านสถานีฐาน [3] oMJL Stratix Development kit oLogic cell 4640 lcs oMemory bits oDSP block 34 blocks

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization แนวทางการทดสอบวนกลับ (Loop Back)

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization แนวทางการทดสอบวนกลับ (Loop Back) [2]  การเชื่อมต่อระหว่าง FPGA กับ DSP  จะใช้ McBSP เนื่องจากช่องสัญญาณนี้รอบรับข้อมูล ได้ถึง 150 Mbps แต่ในการส่งข้อมูลระหว่างบอร์ดใช้ สูงสุดเพียง 960 Kbps เท่านั้น และ FPGA ก็สามารถ เขียนโปรแกรมควบคุมได้ง่าย  การเชื่อมต่อระหว่าง PC กับ DSP  จะใช้ McBSP ในการส่งจาก PC ไป DSP เนื่องจาก สามารถควบคุม Parallel port ของ PC ให้มีการ สื่อสารแบบ McBSP ได้  จะใช้ RTDX ในการส่งข้อมูลจาก DSP ไป PC ซึ่ง สะดวกที่สุดในการเขียนซอฟแวร์มารับข้อมูล

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization แนวทางการทดสอบวนกลับ (Loop Back) [3]  ทำการส่งไฟล์ข้อมูล เช่น MP3 ให้มีการส่ง ข้อมูลตามมาตรฐาน 3GPP ที่ช่องสัญญาณ 384 Kbps โดยจะเป็นไปตามกระบวนการดังนี้  ข้อมูลถูกส่งจาก PC ไปยัง DSP จากนั้นก็จะส่งไปที่ FPGA ( เป็นการทดสอบส่วนประมวลผลฝั่งส่งของ สถานีเคลื่อนที่ และฝั่งรับของสถานีฐาน ) ถือว่าเป็น การทดสอบ Uplink Channel  จากนั้นจะนำข้อมูลที่ประมวลผลได้ส่งกลับไปให้ DSP ซึ่งเป็นการทดสอบส่วนประมวลผลฝั่งส่งของ สถานีฐาน และฝั่งรับของสถานีเคลื่อนที่ ถือว่าเป็นการ ทดสอบ Downlink Channel  นำไฟล์ที่ได้จากการนำกลับไปทดสอบกับต้นฉบับ

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization แนวทางการทดสอบวนกลับ (Loop Back) [4]

Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization สรุปและแผนงานในอนาคต  การทำงานในส่วนประมวลผลสัญญาณทางฝั่ง สถานีเคลื่อนที่ ขณะนี้กำลังดำเนินการตรวจสอบ ความถูกต้องของทั้งระบบ และพัฒนาในส่วนการ ติดต่อกับ PC  การทำงานในส่วนประมวลผลสัญญาณทางฝั่ง สถานีฐาน ขณะนี้กำลังสร้างส่วนควบคุมการ ทำงานแบบวนกลับในฝั่งสถานีฐาน และการ เชื่อมต่อกับบอร์ด DSP  ทำการทดสอบการประมวลผลสัญญาณดิจิตอล เบสแบนด์แบบวนกลับ