การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบการสื่อสารข้อมูลและโครงข่ายโทรคมนาคม
Advertisements

ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
ระบบโทรคมนาคม.
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
สรุปการรายงานผลการ ประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อประจำเดือน ตุลาคม กันยายน 2555.
หน่วยที่ 4 ระบบ วิทยุกระจายเสี ยง ระบบ วิทยุกระจ ายเสียง.
สรุปการรายงานผลการ ประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555.
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย นาย ปรัชญา สิทธิชัยวงค์ ชั้น 4/6 เลขที่ 23 น. ส. สัตตบงกช ศรีวิชัย ชั้น 4/6 เลขที่ 22 จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย เด็กหญิงอภิญญา เพชรทอง ชั้นม.1/12 เลขที่ 3 เด็กหญิงณัฐกาญจน์ สุนะธรรม ชั้นม.1/12 เลขที่
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
การสื่อสารข้อมูล (D ATA C OMMUNICATIONS ) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์
เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด. ญ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลเบื้องต้น Data Communication
สรุปการรายงานผลการประชาสัมพันธ์ ผ่านสื่อประจำเดือนพฤษภาคม 2555
จัดทำโดย ด. ญ. ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18 ด. ญ. ณัฐธิดา วันเวียง ชั้น ม.1/12 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก.
1 การปรับปรุงรูปแบบการทำงานของ องค์การ เช่น การนำ มาใช้ในองค์การ มาใช้ในองค์การ 2. การสนับสนุนการดำเนินงานเชิงกลุยทธ์ 3. เครื่องมือในการทำงาน.
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Communication Software
การสื่อสารข้อมูล.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 3 ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ Computer Network System.
Input Output อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นางสาว ผกาวดี ช่วงชุณส่อง เลขที่ 43 นางสาว ธนาภรณ์ คำเรือง เลขที่ 39 นางสาว ณัฐวรรณ ห่วงกลาง.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่าย. สัญญาณอิเล็คทรอนิกส์ อนาล็อก (ANALOG) สัญญาณมีความต่อเนื่อง ถูกรบกวนได้ง่าย มี Noise มาก.
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
การฟัง การดู และการพูด. การวิเคราะห์เรื่องและประเมินเรื่องที่ฟังและดู การฟังและการดู เป็นทักษะที่จำเป็นในการติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน ซึ่งอาจได้รับจากบุคคล.
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
Case Study.
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
Educational Information Technology
บทที่ 11 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย (Data Communications and Networking)
“ หนึ่งร้อยสิบห้าปีที่ควรเปลี่ยนแปลง ” จากคณะทำงานฝ่ายสื่อสารฯ สชป
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
เซอร์กิตสวิตชิงและแพ๊คเก็ตสวิตชิง (Circuit Switching and Packet Switching ) อ.ธนากร อุยพานิชย์
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารข้อมูล I
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN)
การสื่อสารข้อมูล (DATA Communications)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สรุปงานศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ
Chapter 1 ความรู้เบื้องต้นในเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต Edit
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
สแกนเนอร์ (Scanner) สแกนเนอร์ คืออุปกรณ์จับภาพและเปลี่ยนแปลงรูปแบบของแอนาลอกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได้
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
1. ความหมายของการสื่อสารข้อมูล
สินค้าและบริการ.
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
การสื่อสารข้อมูล ผู้สอน...ศริยา แก้วลายทอง.
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น และการออกแบบเว็บไซต์
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
เครื่องโทรศัพท์ติดต่อภายใน intercommunication
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูล (Computer Network And Data Communication)

การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ, แสงอินฟราเรด, ระบบดาวเทียม.

องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือ ข้อมูล(Message) หน่วยส่งข้อมูล (Sending unit) ช่องทางการส่งข้อมูล (Transmission unit) หน่วยรับข้อมูล (Receiving unit) ข้อตกลงหรือกติกาในการรับส่งข้อมูล (Protocol)

องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล ข้อมูล (Message) เป็นข้อมูลที่เราทำการส่งหรือรับ ซึ่ง ประกอบไปด้วย ข้อมูลตัวอักษร, รูปภาพ, เสียง, video, และ อื่นๆ หน่วยส่งข้อมูล (Sending unit) ทำหน้าที่ ส่งข้อมูลออกไป เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์

3. ช่องทางการส่งข้อมูล (Transmission unit) ทำหน้าที่ นำข้อมูลจากหน่วยส่งข้อมูลไปยังหน่วยรับข้อมูล โดยใช้ช่อง ทางการสื่อสาร เช่น สายโทรศัพท์, สาย LAN, สัญญาณวิทยุ เป็นต้น

4.*หน่วยรับข้อมูล (Receiving unit) ทำหน้าที่ รับข้อมูลที่ ถูกส่งจากหน่วยส่งข้อมูล หน่วยรับข้อมูล เช่น เครื่อง คอมพิวเตอร์

5. ข้อตกลงหรือกติกาในการรับส่งข้อมูล (Protocol) เป็นข้อตกลงหรือกติกาในการสื่อสาร สามารถเปรียบได้กับ ภาษา ในการสื่อสารถ้าเราเอาคนพูดคนละภาษามาพูดคุยกัน ก็จะไม่สามารถสื่อสารข้อมูลในแต่ละฝ่ายเข้าใจได้ เราจึง จำเป็นต้องใช้กติกาเดียวกันในการสื่อสารทำหน้าที่กำหนด รูปแบบในการส่ง/รับว่าเป็นแบบ analog หรือ digital ระดับแรงดันไฟฟ้าที่ใช้ ลักษณะกันเข้ารหัสสัญญาณ เป็นต้น

ชนิดของสัญญาณ ชนิดของสัญญาณ ประกอบด้วยกัน 2 ชนิด คือ การส่งสัญญาณแบบอนาล็อก (Analog) การส่งสัญญาณแบบดิจิตอล (Digital)

ชนิดของสัญญาณ การส่งสัญญาณแบบอนาล็อก (Analog) หมายถึงสัญญาณ ข้อมูลแบบต่อเนื่อง โดยทั่วไปคือสัญญาณที่มนุษย์สามารถ สัมผัสได้ เช่น แรงดันของน้ำ ค่าของอุณหภูมิ หรือความเร็วของ รถยนต์ เป็นต้น การส่งสัญญาณแบบดิจิตอล (Digital) หมายถึงสัญญาณ ข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง  โดยทั่วไปคือสัญญาณที่มนุษย์ไม่ สามารถสัมผัสได้ เช่น สัญญาณไฟฟ้า เป็นต้น

วัตถุประสงค์ของการสื่อสารข้อมูล รเพื่อรับข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งกำเนิดข้อมูล รเพื่อส่งและกระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว รเพื่อช่วยลดเวลาการทำงาน รเพื่อการประหยัดค่าใช้จ่ายในการส่งข่าวสาร รเพื่อช่วยการขยายการดำเนินการขององค์กร รเพื่อช่วยปรับปรุงการบริหารขององค์กร

รูปแบบการสื่อสารข้อมูล รูปแบบของการสื่อสารข้อมูล แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบบทิศทางเดียว (Simplex) แบบกึ่งสองทิศทาง(Half duplex) แบบสองทิศทาง (Full duplex)