(Information Retrieval : IR)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
Advertisements

การเขียนโครงร่างวิจัย
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
โครงงาน เรื่อง อินเทอร์เน็ต(Internet)
1 การปรับปรุงรูปแบบการทำงานของ องค์การ เช่น การนำ มาใช้ในองค์การ มาใช้ในองค์การ 2. การสนับสนุนการดำเนินงานเชิงกลุยทธ์ 3. เครื่องมือในการทำงาน.
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(กล้องจับที่วิทยากร)
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โปรแกรมประยุกต์ หลายชนิด มีการทำงานร่วมกันระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ ที่ต่ออยู่ในเครือข่าย โดยอาศัยเครือข่ายเป็น สื่อกลาง ในการติดต่อสื่อสารระหว่างกันและกัน.
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
วิทยาเขตมีบริการอะไรให้บ้าง การบริการ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน สำหรับใช้งาน Internet สามารถ ติดต่อขอ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน (Password) ด้วย ตนเอง บัตรประจำตัวพนักงาน.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
เป็นบริการขอใช้ ทรัพยากรสารสนเทศ แบบเร่งด่วน Online Quick Service เป็นบริการขอใช้ ทรัพยากรสารสนเทศ แบบเร่งด่วน Online Quick Service อยู่ระหว่างทำรายการ.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
โครงงานจิตอาสา เรื่อง … เล่านิทานให้น้องฟัง จัดทำโดย กลุ่มจิตอาสา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ / ๓.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
โครงการเผยแพร่ผลงาน ดร
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Learning Management System : LMS
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
บทที่ 5 เครื่องมือสืบค้นข้อมูล (Search Engine)
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
ทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เครื่องมือเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด
ทำเว็บไซต์ด้วยการประยุกต์ใช้ Blogger
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL)
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานเครื่องแม่ข่ายสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
การขอรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 26
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การอบรมระบบงานฯสำหรับผู้ใช้งาน (ส่วนภูมิภาค)
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( )
SMS News Distribute Service
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมเครือข่าย
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(Information Retrieval : IR) การสืบค้นสารสนเทศ/ การค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval : IR)

การสืบค้นสารสนเทศ/ การค้นคืนสารสนเทศ Retrieval = Selective Searching = การค้นเพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการกลับคืนมา

การสืบค้นสารสนเทศ/ การค้นคืนสารสนเทศ การสืบค้นสารสนเทศ (Information Retrieval) หมายถึง ความพยายามของบุคคลในการค้นหาเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศที่ต้องการ โดยการใช้เครื่องมือในการสืบค้นสารสนเทศ

การค้นคืนและการค้น(หา) การค้นคืน (retrieval) เป็น การค้นเพื่อให้ได้ผลการค้นตามต้องการ มุ่งเน้นที่ผลการค้นเป็นสำคัญ การค้น การค้นหา (searching) เป็นกระบวนการค้น เช่น การค้นจากหนังสือ การค้นจากฐานข้อมูลโดยใช้ชื่อผู้แต่ง จุดประสงค์หลัก คือ ให้ค้นคืนสารสนเทศที่ “เข้าเรื่อง” (relevance) หรือ “ตรงกับความต้องการ” (pertinence)

การค้นคืนสารสนเทศ ตัวอย่าง การดูรายการโทรทัศน์ การฟังรายการวิทยุ การอ่านหนังสือพิมพ์ การอ่านหนังสือในห้องสมุด

การเกิดขึ้นของการสืบค้น/ค้นคืนสารสนเทศ สารสนเทศมีเพิ่มมากขึ้น ทำให้ต้องมีการจัดเก็บสารสนเทศเอาไว้ โดยมีเครื่องมือสำหรับการจัดเก็บ และการค้นคืน ซึ่งเครื่องมือเหล่านี้ได้มีการคิดค้นและพัฒนามาตลอด เพื่อให้มีความสะดวก รวดเร็วในการใช้งาน

การค้นคืนสารสนเทศ การคัดเลือก การวิเคราะห์เอกสาร การจัดระเบียบแฟ้มข้อมูล การค้นค้น การแจกจ่าย

องค์ประกอบของการสืบค้นสารสนเทศ ผู้ใช้สารสนเทศ ผู้จัดระบบสารสนเทศ

องค์ประกอบของการสืบค้นสารสนเทศ ผู้ใช้สารสนเทศ ความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ การแปล หรืออธิบายความต้องการ การสร้างกลวิธีการค้น การสร้างข้อคำถาม การประมวลผลของคอมพิวเตอร์

องค์ประกอบของการสืบค้นสารสนเทศ 2. ผู้จัดระบบสารสนเทศ การสร้างฐานข้อมูล การกำหนดขอบเขตของเรื่อง ออกแบบระเบียน เลือกรายการที่จะจัดเก็บ สร้างเนื้อหา ปรับปรุงฐานข้อมูล ควบคุมคุณภาพ

ผู้ใช้ระบบการค้นคืนสารสนเทศ นักสารสนเทศ ผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาวิชา ผู้ที่ยังไม่มีประสบการณ์

หลักการของการสืบค้นสารสนเทศ ข้อคำถาม มักอยู่ในรูปคำศัพท์ และเทคนิค เปรียบเทียบ หรือ จับคู่ ศัพท์ดรรชนี แทนสารสนเทศที่สะสมไว้ ผลการค้นคืน

องค์ประกอบของการสืบค้น/ค้นคืนระบบออนไลน์ 1. ฐานข้อมูล 2. ระบบคอมพิวเตอร์ 3. ระบบโทรคมนาคม 4. ผู้ใช้ 5. ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้

กระบวนการค้นคืนสารสนเทศ 1. การตั้งคำถาม (Question Asking) ประกอบด้วยการคิดวิเคราะห์ ดังนี้ การรู้ปัญหา การรู้สึกต้องการคำตอบ การตั้งคำถาม

กระบวนการค้นคืนสารสนเทศ 2. การหาคำตอบ การเข้าสู่ระบบการค้นหาด้วยตนเอง การใช้บริการผู้ให้บริการสารสนเทศ

เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ คือ เครื่องมือที่สามารถสืบค้นสารสนเทศที่มีอยู่ในแหล่งสารสนเทศได้ ซึ่งสารสนเทศนั้นบันทึกในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์

เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ 1. ฐานข้อมูล -จัดทำขึ้นเอง -บอกรับเป็นสมาชิก 2. อินเทอร์เน็ต

ฐานข้อมูลเพื่อการสืบค้น Online Database (เป็น/ไม่เป็นสมาชิก) Off-line Database (เป็น/ไม่เป็นสมาชิก)

OPAC : Online Public Access Catalogues -สืบค้นอย่างง่ายโดย ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง เลขเรียกหนังสือ ISBN หัวเรื่อง -สืบค้นขั้นสูง คือ มีการใช้การเชื่อมคำค้น การจำกัดการสืบค้น -การแสดงผล เป็นแบบบรรณานุกรม

ฐานข้อมูลออนไลน์ที่บอกรับเป็นสมาชิก - ฐานข้อมูลออนไลน์ที่ให้บริการส่วนใหญ่ เป็นฐานข้อมูลที่บอกรับ ดังนั้นการใช้บริการจะต้องมีการ log in เข้าสู่ระบบ - ลักษณะหน้าจอการสืบค้นจะคล้ายกับ OPAC แต่จะมีลักษณะเฉพาะของแต่ละฐานข้อมูล และในปัจจุบันจะจัดทำผ่านเว็บ

ฐานข้อมูลออนไลน์ที่น่าสนใจ 1. Journal Link 2. Ingenta 3. Institute of Physics 4. e-polymer 5. Elsevier Science 6. Scitation 7. ISTL 8. PubMed Central

ฐานข้อมูลออนไลน์ที่น่าสนใจ 9. Free Medical Journal 10 ScienceDirect 11. IEEE/IEE 12. H.W. Wilson 13. ProQuest Digital Dissertation 14. ISI WEB Of Science 15 LexisNexis 16. ACM Digital Library

คำถาม การสืบค้นสารสนเทศมีความสำคัญกับชีวิตประจำวันของนักศึกษาอย่างไร