คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Advertisements

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
บทที่ 6 บทที่ 6 คำสั่งแก้ไขปัญหาแบบ เลือก (CONDITION)
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
บทที่ 5 การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
ทบทวนอสมการกำลัง 1 การหาเซตคำตอบของ อสมการ ตัวอย่า ง.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ค่าใช้จ่ายในการ เดินทางไป ฝึกอบรมใน ประเทศ ค่าใช้จ่ายในการ เดินทางไป ฝึกอบรมใน ประเทศ งานบัญชีและการเงิน สำนัก ชลประทานที 17.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
การทดลองในวิชาฟิสิกส์
บทที่ 8 เรื่อง เมชเคอร์เรนต์
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การใช้งาน Microsoft Excel
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
คำสั่งควบคุมการทำงาน
4) จำนวนคู่สองจำนวนที่เรียงติดกัน เมื่อนำ 6 มาลบออกจากจำนวนที่มากกว่าแล้ว คูณด้วย 3 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับเมื่อนำ 4 มาบวกกับจำนวนที่น้อยกว่าแล้วคูณด้วย 7.
การหาร ระดับ 1 อ. กิตติเชษฐ์ สวัสดิ์ธนาสกุล
เกม คณิตคิดเร็ว.
อนุกรมอนันต์และการลู่เข้า
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
Serial Communication.
BC320 Introduction to Computer Programming
START INPUT R = 1 R = R Yes R*R <=2 No R = R PROCESS
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้งทรงกลม
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
งานนโยบายและแผนและพัฒนาคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง.
สมการพหุนาม ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส Solid Liquid Gas.
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
Chapter 3 : Array.
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ความหมายและสมบัติของลอการิทึม
สื่อประกอบการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวังไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ค 33101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน

1.2) การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เรื่อง อสมการ 1.2) การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว (ต่อ)

สรุป การคูณด้วยจำนวนลบ จะทำให้เครื่องหมายของอสมการเปลี่ยนไป ดังนี้ 1) > เปลี่ยนเป็น < เช่น ให้ 2 > 1 คูณด้วย -1, จะได้ 2(-1) < 1(-1) ได้ -2 < -1 2) ≥ เปลี่ยนเป็น ≤ เช่น ให้ a ≥ 1 คูณด้วย -1, จะได้ a(-1) ≤ 10(-1)

3) < เปลี่ยนเป็น > เช่น ให้ -5 < 1 คูณด้วย -1, จะได้ (-5)(-1) > 1(-1) ได้ 5 > -1 4) ≤ เปลี่ยนเป็น ≥ เช่น ให้ x ≤ 9 คูณด้วย -1, จะได้ x(-1) ≥ 9(-1) ได้ -x ≥ -9

จากข้อสรุปนี้ ครอบคลุมถึงการหารด้วยจำนวนลบด้วย, เมื่อใช้การหารเป็นการคูณด้วยอินเวอร์สของการคูณของจำนวนนั้น ๆ เนื่องจากการหารด้วย c เมื่อ c ≠ 0 คือการคูณด้วย ซึ่งเป็นอินเวอร์สการคูณ ของ c 1 c

ดังนั้น เราจึงใช้สมบัติการคูณของการ ไม่เท่ากัน ดังกล่าวนี้ มาใช้ในการแก้ อสมการที่อยู่ในรูป cx < b หรือ cx ≤ b เมื่อ c และ b เป็นค่าคงตัว และ c ≠ 0 ได้

และเขียนกราฟแสดงคำตอบ ตัวอย่างการแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โดยใช้สมบัติของการไม่เท่ากันแบบต่าง ๆ ตัวอย่างที่ 1 จงแก้อสมการ 3x -6 > -18 และเขียนกราฟแสดงคำตอบ

3x > -12 3x – 6 + 6 > -18 + 6 ได้ นำ มาคูณทั้งสองข้างของอสมการ 3 วิธีทำ นำ 6 มาบวกทั้งสองข้างของอสมการ จะได้ 3x – 6 + 6 > -18 + 6 ได้ 3x > -12 นำ มาคูณทั้งสองข้างของอสมการ 1 3

คำตอบของอสมการนี้ คือ จำนวนจริงทุกจำนวนที่มากกว่า -4 ×3x > ×(-12) 1 3 จะได้ x > -4 ดังนั้น นั่นคือ คำตอบของอสมการนี้ คือ จำนวนจริงทุกจำนวนที่มากกว่า -4 -6 -8 -2 -4 -10 2

นำ - มาคูณทั้งสองข้างของอสมการ 7 ตัวอย่างที่ 2 5(x -4) ≤ 6(2x + 2) วิธีทำ จาก 5(x -4) ≤ 6(2x + 2) จะได้ 5x – 20 ≤ 12x + 12 5x – 12x ≤ 12 + 20 ได้ -7x ≤ 32 นำ - มาคูณทั้งสองข้างของอสมการ 1 7

- x ≥ - 7 7 -7x × (- ) ≥ 32 × (- ) 32 32 จะได้ 7 ดังนั้น นั่นคือ 1 7 จะได้ x ≥ - 32 7 ดังนั้น นั่นคือ คำตอบของอสมการนี้ คือ จำนวนจริงทุกจำนวนที่มากกว่า หรือเท่ากับ 32 7 -

- 7 1 หมายเหตุ เมื่อนำ มาคูณ จำนวนทั้งสองข้างของอสมการ เมื่อนำ มาคูณ จำนวนทั้งสองข้างของอสมการ ต้องเปลี่ยนเครื่องหมาย ≤ เป็น ≥ จึงจะทำให้อสมการเป็นจริง

7x + 4 ≠ 25 การแก้อสมการที่มีเครื่องหมาย ≠ สำหรับการแก้อสมการที่มีเครื่องหมาย ≠ เช่น เราจะไม่ใช้ สมบัติการบวกและการคูณไม่เท่ากันนี้แก้ 7x + 4 ≠ 25 แต่จะใช้วิธีแก้สมการเพื่อหาคำตอบ ของสมการก่อน

ก็จะได้คำตอบของอสมการที่มี เครื่องหมาย ≠ นี้ เป็นจำนวนทุกจำนวน ยกเว้น จำนวนที่เป็นคำตอบของสมการ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

x + 15 = 36 x + 15 -15 = 36 -15 x = 21 ได้ จงแก้อสมการ x + 15 ≠ 36 และเขียนกราฟแสดงคำตอบ ตัวอย่างที่ 3 วิธีทำ จากอสมการ x + 15 ≠ 36 x + 15 = 36 จะได้สมการเป็น นำ - 15 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ จะได้ x + 15 -15 = 36 -15 ได้ x = 21

x + 15 = 36 ดังนั้น 21 เป็นคำตอบของสมการ x + 15 = 36 นั่นคือ คำตอบของอสมการ คือ จำนวนจริงทุกจำนวน ยกเว้น 21 21 18 27 24 30 15