การออกคำสั่งทางปกครอง โดย...ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย
คำสั่งของเจ้าพนักงาน ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 คำสั่งของเจ้าพนักงานท้องถิ่น 1) คำสั่งเกี่ยวกับสุขลักษณะของอาคาร - ม.21 - ม.22 2) คำสั่งเกี่ยวกับเหตุรำคาญ - ม.27 ว.1 - ม.28 ว.1 - ม.28 ว.3
คำสั่งของเจ้าพนักงาน ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 3) คำสั่งตามมาตรา 45 (ปรับปรุงแก้ไข,หยุด) 4) คำสั่งเกี่ยวกับกิจการที่ต้องแจ้ง - ม.48 ว.5 - ม.52 (หยุด,ห้าม) 5) คำสั่งเกี่ยวกับใบอนุญาต - ม.56 (ไม่ออก,ไม่ต่ออายุ) - ม.59 - ม.60
คำสั่งของเจ้าพนักงาน ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 6) คำสั่งเกี่ยวกับค่าธรรมเนียม - ม.65 ว.2
คำสั่งของเจ้าพนักงาน ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 2. คำสั่งของเจ้าพนักงานสาธารณสุข - ม.46 ว.2
รูปแบบของคำสั่งตาม พรบ.สธ. และผลของคำสั่งทางปกครอง คำสั่งเจ้าพนักงานท้องถิ่นต้องเป็นหนังสือ คำสั่งเจ้าพนักงานสาธารณสุข เป็นหนังสือ เป็นวาจา
คำสั่งที่เป็นหนังสือ ม.36 วิ.ปค. อย่างน้อยต้องระบุ วัน เดือน ปี ที่ทำคำสั่ง ชื่อและตำแหน่ง ของผู้ทำคำสั่ง ลายมือชื่อ ของผู้ทำคำส่ง ม.37 ว.1 วิ.ปค. ต้องจัดให้มีเหตุผล อย่างน้อยต้องประกอบด้วย ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ ข้อกฎหมายที่อ้างอิง ข้อพิจารณาและข้อสนับสนุนในการใช้ดุลพินิจ ยกเว้น (ม.37 ว.3 วิ.ปค.)...
ข้อยกเว้นตาม ม.37 ว.3 วิ.ปค. เป็นกรณีที่มีผลตรงตามคำขอและไม่กระทบสิทธิหน้าที่ เหตุผลนั้นเป็นที่รู้กันอยู่แล้ว เป็นกรณีที่ต้องรักษาไว้เป็นความลับ เป็นการออกคำสั่งด้วยวาจาหรือเป็นกรณีเร่งด่วน
การกำหนดเงื่อนไขในคำสั่งทางปกครอง คำสั่งทางปกครองอาจกำหนดเงื่อนไขได้ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกฎหมาย (ม.39 ว.1 วิ.ปค.) หมายความรวมถึง (ม.39 ว.2 วิ.ปค.) กำหนดเวลาเริ่มมีผลหรือสิ้นผล กำหนดเวลาเริ่มมีผลหรือสิ้นผลต้องขึ้นอยู่กับเหตุการณ์ใน อนาคตที่ไม่แน่นอน ข้อสงวนสิทธิการยกเลิกคำสั่ง กำหนดให้ผู้ได้รับประโยชน์ต้องกระทำหรืองดเว้นการกระทำ บางประการ
สิทธิการอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง คำสั่งที่อาจอุทธรณ์หรือโต้แย้งต่อไปได้ ให้ระบุกรณีที่อาจ อุทธรณ์หรือโต้แย้ง การยื่นคำอุทธรณ์หรือคำโต้แย้ง และ ระยะเวลาสำหรับการอุทธรณ์หรือการโต้แย้งดังกล่าวไว้ด้วย (ม.40 ว.1 วิ.ปค.) ในกรณีที่มีการฝ่าฝืน ให้ระยะเวลาสำหรับการอุทธรณ์หรือ การโต้แย้งเริ่มนับใหม่ตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้งหลักเกณฑ์ตาม วรรคหนึ่ง แต่ถ้าไม่มีการแจ้งใหม่และระยะเวลาดังกล่าวมี ระยะเวลาสั้นกว่าหนึ่งปี ให้ขยายเป็นหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้รับ คำสั่งทางปกครอง (ม.40 ว.2 วิ.ปค.)
คำสั่งที่ฝ่าฝืนเกณฑ์ต่อไปนี้ ไม่เป็นเหตุให้คำสั่งไม่สมบูรณ์ (ม. 41 ว คำสั่งที่ฝ่าฝืนเกณฑ์ต่อไปนี้ ไม่เป็นเหตุให้คำสั่งไม่สมบูรณ์ (ม.41 ว.1 วิ.ปค.) การออกคำสั่งทางปกครองโดยยังไม่มีผู้ยื่นคำขอในกรณีที่ เจ้าหน้าที่จะดำเนินการเองไม่ได้นอกจากจะมีผู้ยื่นคำขอ ถ้าต่อมา ในภายหลังได้มีการยื่นคำขอเช่นนั้นแล้ว คำสั่งทางปกครองที่ต้องจัดให้มีเหตุผลตามมาตรา 37 วรรค หนึ่ง ถ้าได้มีการจัดให้มีเหตุผลดังกล่าวในภายหลัง การรับฟังคู่กรณีที่จำเป็นต้องกระทำได้ดำเนินการมาโดยไม่ สมบูรณ์ ถ้าได้มีการรับฟังให้สมบูรณ์ในภายหลัง คำสั่งทางปกครองที่ต้องให้เจ้าหน้าที่อื่นให้ความเห็นชอบก่อน ถ้าเจ้าหน้าที่นั้นได้ให้ความเห็นชอบในภายหลัง
ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข WEB SITE ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข WWW.Laws.anamai.moph.go.th ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทร. 0-2590-4175, 0-2591-8180 โทรสาร 0-2591-8180