รหัส การแพทย์แผนไทย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
Advertisements

โดย ผศ.นพ.วีระศักดิ์ จรัสชัยศรี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
Stress and Coping with Stress among Youths in the Child and
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประเด็นขอความร่วมมือจาก โรงพยาบาล โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง ภาระทางสุขภาพที่เกิด จากการทำงาน ฯ.
การใช้งาน Microsoft Excel
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
โครเมี่ยม (Cr).
1 ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนา มัย ด้านการยศาสตร์ เรื่องท่าทางการทำงานที่ถูก หลักการยศาสตร์ จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน สนับสนุนโดยสำนักงานประกันสังคม.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
เกม คณิตคิดเร็ว.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547
ระดับความเสี่ยง (QQR)
ประชุมการตรวจสอบคุณภาพเวชระเบียน
การบันทึกโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมการคัดกรองสารเคมีในเกษตรกร
การจัดการควบคุมคุณภาพข้อมูล
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ICD-10 -TM Simplified เป็นการพัฒนาระบบการให้รหัส ICD ที่ มีการลดขั้นตอนการให้รหัสทีให้ง่ายและ ถูกต้องแม่นยำมากขึ้น.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
เรื่อง อันตรายของเสียง
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
วิลเลี่ยม ฮาร์วี่ ได้กล่าวว่า..."ความเชื่อเปลี่ยนแปลงได้เสมอ   แต่ความจริงไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้" 
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
รายงานสถานการณ์E-claim
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
มั่นใจเชื่อถือได้ เหรียญ+ป้าย ลูกของแม่
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รหัส การแพทย์แผนไทย

ความเป็นมาของ ICD-10 องค์การอนามัยโลกได้ให้ประเทศต่างๆ ใช้รหัส ICD เป็นเครื่องมือหลักในการให้รหัสโรค มีการพัฒนารหัส ICD มาเป็นลำดับ ICD-10 เป็นระบบรหัสโรคที่เป็นระบบมาตรฐานทางการแพทย์ ย่อมาจาก International Classification of Diseases and Related Health Problem 10th Revision กระทรวงสาธารณสุข : บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 10 ประเทศไทยใช้ ICD-10TM

เอกสารอ้างอิง หนังสือรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย ของสถาบันการแพทย์แผนไทย ประกอบด้วย คู่มือการให้รหัสด้านการแพทย์แผนไทย บัญชีรหัสโรคและอาการ ดรรชนีรหัสโรคและอาการ บัญชีรหัสหัตถการ

รหัสการแพทย์แผนไทย รหัสการแพทย์แผนไทย เป็นส่วนหนึ่งของระบบรหัส ICD-10-TM (บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 10 ดัดแปลงสำหรับประเทศไทย) ประกอบด้วย รหัสการวินิจฉัยโรคและอาการ รหัสหัตถการ

รหัสการวินิจฉัยโรคและอาการ เป็นรหัสตัวอักษรผสมตัวเลข รวม 3-5 หลัก เช่นเดียวกับรหัส ICD-10 ที่ใช้กับโรคและอาการแผนปัจจุบัน รหัสหลักแรกซ้ายมือเป็นอักษรภาษาอังกฤษ ตัว U เหมือนกันทุกรหัส รหัสหลักที่ 2-5 เป็นเลขอารบิก มีจุดคั่นระหว่างรหัสหลักที่ 3 และหลักที่ 4

รหัสการวินิจฉัยโรคและอาการ รหัสโรค ชื่อโรคและอาการ U50.0 แพ้ท้อง อาการคลื่นไส้ อาเจียน ที่พบในสตรีตั้งครรภ์ในช่วง ระยะไตรมาสแรก และอาการดีขึ้นหลังจากนั้น คำจำกัดความที่กำหนดโดย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย

รหัสการวินิจฉัยโรคและอาการ ประกอบด้วย 6 กลุ่มรหัส U50 – U52 โรคของสตรี U54 – U55 โรคของเด็ก U56 – U60 โรคที่เกิดอาการหลายระบบ U61 – U72 โรคที่เกิดเฉพาะตำแหน่ง U74 – U75 โรคและอาการอื่น U77 การส่งเสริมสุขภาพและ การป้องกันโรค

คำและเครื่องหมายที่ใช้ คำว่า “และ” มีความหมายว่า “และ/หรือ” โรคและอาการของศีรษะ, สมอง และระบบประสาท U61 หมายความว่า รหัสในกลุ่ม U61 ทั้งหมดเป็นรหัสสำหรับโรค และ/หรือ อาการของศีรษะ, สมอง และ/หรือ ระบบประสาท บางรหัสเป็นรหัสของโรค บางรหัสเป็นรหัสของอาการ บางโรคเกิดเฉพาะศีรษะ บางโรคเกิดเฉพาะสมอง บางโรคเกิดเฉพาะระบบประสาท และบางโรคเกิดกับทั้งสมองและระบบประสาท

คำและเครื่องหมายที่ใช้ คำว่า “หรือ” มีความหมายว่า “หรือ” U61.0 อัมพฤกษ์ หรือ ลมอัมพฤกษ์ หมายความว่า ไม่ว่าแพทย์จะวินิจฉัยว่า “อัมพฤกษ์” หรือ “ลมอัมพฤกษ์” ก็ใช้รหัส U61.0 เหมือนกัน

คำและเครื่องหมายที่ใช้ คำว่า “ไม่รวม” แสดงว่า รหัสหรือกลุ่มรหัสนั้นไม่รวมชื่อโรคหรืออาการใดบ้าง และมีวงเล็บระบุรหัสสำหรับชื่อโรคหรืออาการที่ไม่รวมนั้น U55.9 โรคของเด็ก, ไม่ระบุรายละเอียด ไม่รวม: โรคของเด็กอายุไม่เกิน 5 ปี, ไม่ระบุรายละเอียด (U54.9) หมายความว่า รหัส U55.9 ไม่รวมโรคที่ไม่ระบุรายละเอียดของเด็กอายุไม่เกิน 5 ปี ซึ่งโรคกลุ่มนี้ใช้รหัสในวงเล็บ คือ U54.9

คำและเครื่องหมายที่ใช้ เครื่องหมาย [ ] แสดงว่า คำที่อยู่ในวงเล็บมีความหมายเหมือนกับคำที่อยู่หน้าวงเล็บ U54.1 สำรอกทับทราง [ซาง] ไม่ว่าแพทย์จะบันทึกว่า “สำรอกทับทราง” หรือบันทึกว่า “สำรอกทับซาง” ให้ใช้รหัส U54.1 เหมือนกัน เพราะคำว่า “ทราง” กับ “ซาง” คือคำเดียวกัน ต่างกันที่ตัวสะกดเท่านั้น

เลือกให้รหัสที่ละเอียดที่สุด โรคหรืออาการใดที่มีรหัสละเอียดถึง 5 หลัก ต้องให้รหัส 5 หลักเสมอ ดังนั้นรหัส 3 หลักและ 4 หลักที่เป็นรหัสแม่ของรหัส 5 หลักนั้นจะถูกงดใช้โดยปริยาย ในบัญชีรหัสการวินิจฉัยโรคและอาการได้พิมพ์รหัสที่งดใช้ด้วยสาเหตุนี้ด้วยอักษรสีขาวบนพื้นสีดำ

เลือกให้รหัสที่ละเอียดที่สุด ไข้ โรคที่เกี่ยวกับไข้ U56.00 ไข้เหือด ให้จับสะท้านร้อนสะท้านหนาว ให้ เชื่อมมัว ให้ปวดศีรษะ วันหนึ่งสองวัน ผุดขึ้นมาเป็นผื่นปื้นหนาๆ อาจขึ้นทั่ว ทั้งตัวได้ ถ้าหลบเข้าในท้องให้ลง ลักษณะหัดเหือดมีลักษณะคล้ายคลึง กัน U56 U56.0 U56 และ U56.0 เป็นรหัสที่งดใช้

โรคและอาการอื่นที่ระบุรายละเอียด อาการทางจิตใจ U75.20 เครียด หรือ วิตกกังวล U75.21 ซึมเศร้า U75.22 นอนไม่หลับ U75.28 อาการอื่นทางจิตใจที่ระบุ รายละเอียด U75.29 อาการทางจิตใจ, ไม่ระบุ รายละเอียด U75.2 รหัส U75.28 ใช้เมื่อแพทย์ระบุคำวินิจฉัยว่าผู้ป่วยมีอาการทางจิตใจที่ระบุรายละเอียดชัดเจน แต่ไม่มีรหัสเฉพาะเช่น วินิจฉัยว่าผู้ป่วยมีอาการประสาทหลอน ซึ่งเป็นอาการทางจิตใจ แต่ไม่ตรงกับรหัส U75.20, U75.21, และ U75.22

รหัสที่ไม่ระบุรายละเอียด เป็นรหัสที่มีคุณค่าทางเวชสถิติต่ำ ผู้ให้รหัสควรหลีกเลี่ยงการให้รหัสประเภทนี้ เมื่อพบว่าแพทย์วินิจฉัยไม่ละเอียดควรปรึกษาแพทย์ก่อนให้รหัส U50.9 ความผิดปกติของสตรีตั้งครรภ์หรือหลัง คลอด, ไม่ระบุรายละเอียด U51.9 ความผิดปกติของโลหิตระดู, ไม่ระบุ รายละเอียด U52.9 โรคและอาการของสตรี, ไม่ระบุ รายละเอียด U55.9 โรคของเด็ก, ไม่ระบุรายละเอียด

อย่าให้รหัสของอาการถ้าทราบชื่อโรค หากแพทย์บันทึกทั้งชื่ออาการและชื่อโรคที่เป็นต้นเหตุของอาการนั้น ให้รหัสเฉพาะรหัสของโรคที่เป็นต้นเหตุ ไม่ต้องให้รหัสของอาการนั้น แพทย์วินิจฉัยว่า 1. ลมกองหยาบ 2. จุกเสียด ให้รหัสเฉพาะ U57.0 ลมกองหยาบ รหัสเดียว ไม่ต้องให้รหัส U66.70 จุกเสียดแน่นท้อง ร่วมด้วย

วิธีค้นหารหัสโรคและอาการ วิธีที่ 1 ค้นหาจากบัญชีรหัสโรคและอาการ วิธีที่ 2 ค้นหาจากดรรชนีรหัสโรคและอาการ

ดรรชนีรหัสโรคและอาการ เรียงลำดับคำหลักและคำย่อยตามพยัญชนะไทย จาก ก ไปถึง ฮ เช่นเดียวกับปทานุกรม คำที่เป็น คำหลัก ในการค้นหารหัสจะพิมพ์ด้วยตัวพิมพ์หนา คำที่เป็น คำย่อย ในการค้นหารหัสจะพิมพ์ด้วยตัวพิมพ์บาง และมีขีด – หน้าคำ โดยจำนวนขีดจะแสดงระดับของคำย่อย

ดรรชนีรหัสโรคและอาการ คำหลัก คือ คำที่แสดงว่าเป็นโรคหรือมีความผิดปกติ ไม่ใช่คำที่มาขยายว่าเป็นโรคแบบใด หรือบอกว่าเกิดโรคที่อวัยวะใดหรือส่วนใดของร่างกาย คำขยาย คำหลัก กษัย กล่อน ลม คำขยาย

ดรรชนีรหัสโรคและอาการ เลือกรหัสนี้ ถ้าแพทย์วินิจฉัยว่า “กษัย” กษัย U60.9 − กล่อน U60.29 − − ดิน U60.20 − − เถา U60.24 − − น้ำ U60.21 − − ไฟ U60.23 − − ลม U60.22 เลือกรหัสนี้ ถ้าแพทย์วินิจฉัยว่า “กษัยกล่อน” เลือกรหัสนี้ ถ้าแพทย์วินิจฉัยว่า “กษัยกล่อนลม” ผู้ให้รหัสควรหลีกเลี่ยงการให้รหัส U60.9 และ U60.29 ซึ่งเป็นรหัสที่ไม่ระบุรายละเอียด

รหัสหัตถการด้านการแพทย์แผนไทย เป็นรหัสตัวเลขอารบิก 7 หลัก เช่นเดียวกับรหัสผ่าตัดและรหัสหัตถการอื่นในระบบ ICD-10-TM แต่ละรหัสแบ่งเป็น 3 ส่วน ส่วนต้น ประกอบด้วยเลข 3 หลักแรก แสดงอวัยวะหรือส่วนของร่างกายที่แพทย์ทำหัตถการ ส่วนกลาง ประกอบด้วยเลข 2 หลักกลาง แสดงประเภทของหัตถการ ส่วนท้าย ประกอบด้วยเลข 2 หลักท้าย แสดงชนิดของหัตถการ

รหัสหัตถการด้านการแพทย์แผนไทย ตัวอย่างรหัส 3 หลักแรกสำหรับหัตถการด้านการแพทย์แผนไทย 100 ศีรษะ 154 ใบหน้า 300 หน้าอก 400 หน้าท้อง 590 หลัง 721 ไหล่, บ่า 722 ต้นแขน 723 ข้อศอก 724 ปลายแขน 871 สะโพก, เอว 872 ต้นขา 873 หัวเข่า 874 ขา, น่อง 900 ทั่วร่างกาย 999 ไม่ระบุตำแหน่ง

รหัสหัตถการด้านการแพทย์แผนไทย รหัส 2 หลักกลางสำหรับหัตถการด้านการแพทย์แผนไทย มีเพียง 3 รหัส 77 การบริบาลมารดาและทารกด้วยวิธีการ แพทย์แผนไทย 78 การบำบัดรักษาโรคและอาการด้วยวิธีการ แพทย์แผนไทย 79 การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย

รหัสหัตถการด้านการแพทย์แผนไทย รหัสหัตถการที่สามารถทำได้กับหลายอวัยวะหรือหลายส่วนของร่างกาย หรือทำได้ทั้งร่างกาย ในบัญชีรหัสจะพิมพ์รหัส 3 หลักแรกเป็น 900 ซึ่งหมายถึงทั้งร่างกายไว้ก่อน และมีหมายเหตุว่า หมายเหตุ: ในกรณีที่มิได้ทำหัตถการต่อทั้งร่างกายของผู้ป่วย เลือกเปลี่ยนเลขรหัสสามหลักแรกจากเลข 900 เป็นเลขรหัสที่แสดงตำแหน่งอวัยวะซึ่งแพทย์ได้ทำหัตถการนั้น ตามที่ระบุในบัญชีรหัสอวัยวะท้ายส่วนที่สี่นี้

รหัสหัตถการด้านการแพทย์แผนไทย ตัวอย่างรหัสหัตถการประคบด้วยสมุนไพร ประคบทั้งร่างกาย ให้รหัส 900-78-20 ประคบเฉพาะหลัง ให้รหัส 590-78-20 ประคบเฉพาะท้อง ให้รหัส 400-78-20 ประคบเฉพาะไหล่ ให้รหัส 721-78-20 ประคบเฉพาะเอว ให้รหัส 871-78-20 ประคบเฉพาะต้นขา ให้รหัส 872-78-20 ประคบเฉพาะเข่า ให้รหัส 873-78-20

รหัสตัวยาสำคัญของชื่อยา ๙ หลัก ตัวยาสำคัญ ประเภทตำรับยา ๑ หลัก รหัสมาตรฐานหัสยาสมุนไพร รหัสตัวยาสำคัญของชื่อยา ๙ หลัก ประเภทของยา ๑ หลัก รปแบบของยา ๓ หลัก 4 – 0 – 000000000 – 00000 – 000 - 00000 ขนาดความแรง ๕ หลัก ตัวยาสำคัญ ประเภทตำรับยา ๑ หลัก ผู้ผลิต ๔ หลัก