เครื่องมือเพื่อการคัดกรองโรคซึมเศร้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
งานป้องกันและควบคุมโรค
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือน กันยายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา เมษายน 2558 กลุ่มงานควบคุมโรค.
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ชื่อโรงพยาบาล ขนาด... เตียง จังหวัด ชื่อผู้ติดต่อ กลุ่มงาน โทรศัพท์ อีเมล์
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
รพ.พุทธมณฑล.
โครเมี่ยม (Cr).
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
SERVICE PLAN 59.
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
สภาพปัญหาของการดูแลรักษาโรคซึมเศร้าของไทย
COMPETENCY DICTIONARY
คลินิกบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS โรงพยาบาลเขาสมิง จังหวัดตราด
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
ประชุมการตรวจสอบคุณภาพเวชระเบียน
การบันทึกรหัสการคัดกรองบุหรี่ ปี 2560 จังหวัดศรีสะเกษ
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
นายแพทย์บุรินทร์ สุรอรุณสัมฤทธิ์
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
การพยาบาลผู้ที่มีนึกคิดและการรับรู้ผิดปกติ : Dementia, Delirium
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
หลุยส์ ปาสเตอร์.
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยรับยาต้านไวรัสเอดส์
การดำเนินงานเชิงรุก โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
ศูนย์ปฏิบัติการยุติวัณโรค NOC TB อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม
กรอบติดตาม ประเมินผล/นิเทศ “RB 2 วัยเรียน”
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
การติดตาม (Monitoring)
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559
การพัฒนาคุณภาพการดูแลโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
Supply Chain Management
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
โรงพยาบาลยางตลาด 87 ม.20 ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยจิตเวช รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การคัดกรองและประเมินโรคซึมเศร้าสำหรับผู้ปฏิบัติ ในระบบการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า

เครื่องมือเพื่อการคัดกรองโรคซึมเศร้า เป้าหมายของเครื่องมือคัดกรอง/ประเมินโรคซึมเศร้า เครื่องมือเพื่อการคัดกรองโรคซึมเศร้า เครื่องมือเพื่อวินิจฉัยและ การจำแนกโรคซึมเศร้า เครื่องมือเพื่อบรรยายอาการและประเมินอาการ เครื่องมือเพื่อประเมินผลลัพธ์การรักษา (ใช้ติดตามการรักษา)

ความเชื่อมโยงของการใช้เครื่องมือกับการดูแลเฝ้าระวัง Depression Depressive disorders Remission Relapse ส่งเสริม ป้องกัน รักษา 1. คัดกรอง 2.ประเมิน รักษา 4.ติดตาม เฝ้าระวัง 3.วินิจฉัย

การคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้า Depression Depressive disorders Remission Relapse 1. คัดกรอง การคัดแยกผู้ป่วยออก จากกลุ่มไม่ป่วย และลดภาระ การ Dx.โดยแพทย์ และนำผู้ป่วยเข้าสู่ กระบวนการช่วยเหลือ

การคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้า Depression Depressive disorders Remission Relapse 1. คัดกรอง การคัดแยกผู้ป่วยออก จากกลุ่มไม่ป่วย และลดภาระ การ Dx.โดยแพทย์ และนำผู้ป่วยข้าสู่ กระบวนการช่วยเหลือ

การคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้า Depression Depressive disorders Remission Relapse 1. คัดกรอง ต้องได้รับ การยืนยัน ว่า เป็น โรคซึมเศร้า มีภาวะซึมเศร้า หรือ มีแนวโน้มป่วย เป็นโรคซึมเศร้า การคัดแยกผู้ป่วยออก จากกลุ่มไม่ป่วย และลดภาระ การ Dx.โดยแพทย์ และนำผู้ป่วยเข้าสู่ กระบวนการช่วยเหลือ

การประเมินผู้ป่วยโรคซึมเศร้า Depression Depressive disorders Remission Relapse 2.ประเมิน ประเมินผู้ป่วย หรือความรุนแรง และการ เปลี่ยนแปลง ของโรคซึมเศร้า

การประเมินโรคซึมเศร้า Depression Depressive disorders Remission Relapse 2.ประเมิน ประเมินผู้ป่วย หรือความรุนแรง และการ เปลี่ยนแปลง ของโรคซึมเศร้า ระดระดับ ความรุนแรง - ปกติ - น้อย - ปานกลาง - รุนแรง

การวินิจฉัยและจำแนกโรคซึมเศร้า Depression Depressive disorders Remission Relapse 3.วินิจฉัยโรค เป็นการใช้เครื่องมือ ที่ใช้แทนการวินิจฉัย และ จำแนกโรคซึมเศร้า โดยจิตแพทย์ หรือแพทย์ - น้อย - ปานกลาง - รุนแรง

ความเชื่อมโยงของการใช้เครื่องมือกับการดูแลเฝ้าระวัง Depression Depressive disorders Remission Relapse 3.วินิจฉัยโรค - น้อย - ปานกลาง - รุนแรง MDD Dysthymia Bipolar เป็นการใช้เครื่องมือ ที่ใช้แทนการวินิจฉัย และ จำแนกโรคซึมเศร้า โดยจิตแพทย์ หรือแพทย์ ระดยืนยัน

การติดตามเฝ้าระวังและประเมินผลลัพธ์การรักษาโรคซึมเศร้า Depression Depressive disorders Remission Relapse 4.ติดตามเฝ้าระวัง ประเมินผลลัพธ์การรักษา เครื่องมือประเมิน ช่วยในการติดตาม ความก้าวหน้า ของผู้ป่วยและ วัดประสิทธิผล ในการรักษา ระดประเมินความรุนแรง หลังจากได้รับการรักษา - น้อย - ปานกลาง - รุนแรง

การติดตามเฝ้าระวังและประเมินผลลัพธ์การรักษาโรคซึมเศร้า Depression Depressive disorders Remission Relapse 4.ติดตามเฝ้าระวัง ประเมินผลลัพธ์การรักษา เครื่องมือประเมิน ช่วยในการติดตาม ความก้าวหน้า ของผู้ป่วยและ วัดประสิทธิผล ในการรักษา ระดประเมินความรุนแรง หลังจากได้รับการรักษา - น้อย - ปานกลาง - รุนแรง

กระบวนการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า อ.ส.ม. รพ.สต./PCU ร.พ.ช./ร.พ.ท. รพ.ที่มีจิตแพทย์ +ve Education ≥ 7 ประเมิน การฆ่าตัวตาย ด้วย 10Q, 8Q ติดตามการรักษาจน 9Q <7 ทุก 1 เดือน เป็นเวลา 6 เดือน แล้วลดยาลงจนหยุดได้ ให้การรักษา ตามมาตรฐาน การรักษา Non MDD ไม่มีปัญหาทางสังคมจิตใจ ประเมินการฆ่าตัวตายด้วย 8Q, 10Q/Card check list 9Q ≥19 Csg 8Q ≥17 มีปัญหาทางสังคมจิตใจ ≥7 ประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9Q ประเมินด้วย 9Q ผลประเมินด้วย 9Q แจ้งผลและให้สุขภาพจิตศึกษา คัดกรอง แจ้งผลและ ให้สุขภาพจิต ศึกษา ติดตามด้วย 9Qหรือ/และ8Q ทุกเดือนเป็นเวลา 1 ปี ติดตามด้วย 9Q ซ้ำอีก 1 เดือน Mild 9Q=7-12 Moderate 9Q=13-18 Severe 9Q≥19 วินิจฉัยโรคซึมเศร้าโดยแพทย์ MDD คัดกรองในกลุ่มเสี่ยง คัดกรองในกลุ่มเสี่ยงด้วย DS8 Csg+Edญาติ Rx+Csg+ Edญาติ

เกณฑ์การวินิจฉัย Major depressive episode (DSM-IV-TR) มีอาการดังต่อไปนี้ อย่างน้อย 5 อาการ เกิดขึ้นแทบทั้งวัน เป็นเกือบทุกวันติดต่อกันไม่ต่ำกว่า 2 สัปดาห์ และทำให้เสียหน้าที่การงานการสังคม มีอารมณ์เศร้า ทั้งที่ตนเองรู้สึกและคนอื่นสังเกตเห็น ความสนใจหรือความเพลิดเพลินในกิจกรรมปกติที่เคยทำทั้งหมดหรือแทบทั้งหมดลดลงอย่างมาก ต้องมีอาการเหล่านี้ อย่างน้อย 1 อย่าง น้ำหนักลดลงหรือเพิ่มขึ้น (>ร้อยละ ๕ ต่อเดือน)/เบื่ออาหารหรืออยากอาหารมากขึ้น นอนไม่หลับหรือหลับมาก ทำอะไรช้า เคลื่อนไหวช้าลง หรือกระสับกระส่าย อยู่ไม่สุข เหนื่อยอ่อนเพลียหรือไม่มีแรง รู้สึกตนเองไร้ค่าหรือรู้สึกผิดมากเกินควร สมาธิหรือความคิดอ่านลดลง คิดถึงเรื่องการตายอยู่ซ้ำๆหรือคิดฆ่าตัวตายหรือพยายามฆ่าตัวตายหรือมีแผน

เครื่องมือการคัดกรองโรคซึมเศร้าด้วย 2Q คำถาม ภาษากลาง มี ไม่มี 1 ใน 2 สัปดาห์ที่ผ่านมารวมวันนี้ “ท่านรู้สึก หดหู่ เศร้า หรือท้อแท้สิ้นหวังหรือไม่” 2 “ท่านรู้สึก เบื่อ ทำอะไรก็ไม่เพลิดเพลินหรือไม่” P72

เครื่องมือการคัดกรองโรคซึมเศร้าด้วย 15Q www.dmh.go.th/download/ebooks/depress/depress.pdf

คุณสมบัติของแบบคัดกรอง 2Q,15Q ช่วยแยกผู้ที่มีแนวโน้มจะป่วยเป็นโรคซึมเศร้า และนำเข้าสู่กระบวนการช่วยเหลือตามระบบเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าได้มากเมื่อเทียบกับผู้ที่มีแนวโน้มป่วยทั้งหมด Sensitivity 2Q=97.3 %, 15Q=86.8% แต่ไม่สามารถบอกว่าป่วยหรือไม่ และเป็นระดับใด บุคคลทั่วไปสามารถนำไปใช้ได้ เป็นภาษาที่ตรงกับคำพูดที่แสดงถึงความรู้สึกและพฤติกรรมของคนไทย

การแปลผลการใช้แบบคัดกรอง 2Q, 15Q แบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 2Q ภาวะซึมเศร้า (15 ข้อ) ถ้า “ไม่มี” ทั้ง 2 คำถาม ถือว่าปกติ หรือ ไม่มีแนวโน้มป่วยเป็นโรคซึมเศร้า ถ้า “มี” คำใดคำหนึ่งหรือทั้ง 2 ข้อ (มีอาการใดๆ ในคำถามที่ 1 และ 2) หมายถึง เป็นผู้มีความเสี่ยงหรือมีแนวโน้มที่จะเป็นโรคซึมเศร้า ถ้า ตอบ “มี” ตั้งแต่ 6 ข้อขึ้นไป หมายถึง มีภาวะซึมเศร้า “ควรได้รับบริการการปรึกษาหรือส่งพบแพทย์และคัดกรองความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย”

ความเชื่อมโยงของการใช้เครื่องมือกับการดูแลเฝ้าระวัง Depression Depressive disorders Remission Relapse 2.ประเมิน 9Q ประเมินผู้ป่วย หรือความรุนแรง และการ เปลี่ยนแปลง ของโรคซึมเศร้า ระดระดับ ความรุนแรง - ปกติ - น้อย - ปานกลาง - รุนแรง

เครื่องมือการประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9Q

การแปลผลการใช้แบบประเมินโรคซึมเศร้า 9Q คะแนน การแปลผล <7 ปกติ 7-12 ระดับ Mild 13-18 ระดับ Moderate ≥19 ระดับ Severe ค่าจุดตัด (cut off score) = 7 คะแนน เป็นจุดตัดที่แบ่งระดับการวินิจฉัยหรือจำแนกคนที่ป่วยออกจากคนไม่ป่วย (cut off level) โดยเลือกจากค่าความไว (Sensitivity) 75.68% และความจำเพาะสูง (Specificity) 92.85% เป็นระดับที่สูงและสอดคล้องกับบริบทของโรคซึมเศร้าในคนไทย

คุณสมบัติของแบบประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9Q สามารถระบุคนที่ป่วยจริงได้ว่า ป่วย (true positive) และระบุคนที่ไม่ป่วยว่า ไม่ป่วย (true negative) เมื่อเทียบกับคนที่ป่วยเป็นโรคทั้งหมดได้ค่อนข้างสูง โดยมีค่าความไว (Sensitivity) 75.68 % สามารถแยกคนที่ไม่ป่วยได้ถูกต้องเมื่อเปรียบเทียบกับคนที่ไม่ป่วยทั้งหมดจากความเป็นจริงได้สูงมาก โดยมีค่าความจำเพาะ (Specificity) 92.85 % ช่วยจำแนกความรุนแรงของโรคซึมเศร้าเพื่อให้การรักษานำตามระบบเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า ประเมินอาการ/เฝ้าระวังการกลับซ้ำของโรคซึมเศร้า มีข้อจำกัดในการใช้ โดยใช้ได้เฉพาะบุคลากรสาธารณสุขที่ได้รับการอบรมเท่านั้น เป็นภาษาแสดงถึงความรู้สึกและพฤติกรรมซึ้มเศร้าของคนไทย

แบบประเมินแนวโน้ม/ความเสี่ยงฆ่าตัวตายด้วย 8Q P76

การแปลผลประเมินด้วย 8Q แบบประเมินการฆ่าตัวตาย 8 คำถาม (8Q) คะแนนรวม แนวโน้มที่จะฆ่า ตัวตายในปัจจุบัน 1-8 Mild 9-16 Moderate ≥ 17 Severe

คุณสมบัติของแบบประเมินการฆ่าตัวตายด้วย 8Q ประเมินแนวโน้มการฆ่าตัวตาย เพื่อให้การดูแลตามระบบ การเฝ้าระวังของโรคซึมเศร้า บุคลากรสาธารณสุขทุกระดับสามารถนำไปใช้ในผู้ป่วยอื่นได้ เป็นภาษาที่ตรงกับคำพูด ที่แสดงถึงความรู้สึกและพฤติกรรมของคนไทย ความไว (Sensitivity) : สามารถระบุได้ว่า มี/ไม่มีแนวโน้มจะฆ่าตัวตาย ความจำเพาะ (Specificity) : สามารถวินิจฉัยแยกคนที่ไม่มีแนวโน้มฆ่าตัวตายได้ถูกต้องเมื่อเปรียบเทียบกับคนที่ไม่ฆ่าตัวตายทั้งหมดจากความเป็นจริง

แบบประเมินแนวโน้ม/ความเสี่ยงฆ่าตัวตายด้วย 10Q รายการประเมิน มี ไม่มี 1.มีสีหน้าเป็นทุกข์ หม่นหมอง เศร้าซึม ร้องไห้ (ผู้สัมภาษณ์สังเกตพบขณะสัมภาษณ์) 2.เป็นโรคร้ายแรงหรือเรื้อรัง และมีผลกระทบต่อชีวิตประจำวันมาก 3.เข้ารักษาในโรงพยาบาลด้วยสาเหตุฆ่าตัวตายหรือเคยทำมาก่อน 4.สูญเสียอวัยวะที่สำคัญอย่างไม่คาดคิด (ระบุอวัยวะที่สูญเสีย……….) 5.มีการสูญเสียของรัก (คนรัก เงินทอง หรือบุคคลอันเป็นที่รัก หน้าที่การงาน) 6.ท่านดื่มเครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล์บ่อยครั้ง ดื่มหนัก ดื่มจนเมา 7.มีเรื่องกดดัน หรือคับข้องใจ 8.รู้สึกสิ้นหวัง ไม่มีค่าที่จะอยู่ต่อไป 9.เป็นทุกข์ จนไม่อยากมีชีวิตอยู่ต่อไป 10.กำลังคิดฆ่าตัวตาย

การแปลผลประเมินด้วย 8Q,10Q แบบคัดกรองความเสี่ยง ต่อการฆ่าตัวตาย (10Q) ตอบ “มี” ตั้งแต่ 2 ข้อขึ้นไป “มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย” แบบประเมินการฆ่าตัวตาย 8 คำถาม (8Q) คะแนนรวม แนวโน้มที่จะฆ่า ตัวตายในปัจจุบัน 1-8 Mild 9-16 Moderate ≥ 17 Severe

วิธีการใช้เครื่องมือ ถามเป็นรายบุคคล หากผู้ถูกถามไม่เข้าใจ ให้ถามซ้ำ ไม่ควรอธิบายหรือขยายความเพิ่ม ควรถามซ้ำจนกว่าผู้ถูกถามได้ตอบตามความเข้าใจของเขาเอง ถ้าพบว่า ความเสี่ยงที่จะป่วยเป็นโรคซึมเศร้า “ควรได้รับการประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9Q ภายใน 2 สัปดาห์ แต่ไม่ควรนานเกิน 3 เดือน” เน้น การแจ้งผลเพื่อสร้างความตระหนัก ถ้าพบว่ามีแนวโน้มหรือเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ผู้ป่วยต้องได้รับการดูแลรักษาตามระดับความรุนแรง เน้น ผู้ป่วยต้องได้รับการดูแลรักษาตามระดับความรุนแรง

กระบวนการดูแลเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า อ.ส.ม. รพ.สต./PCU ร.พ.ช./ร.พ.ท. รพ.ที่มีจิตแพทย์ คัดกรอง คัดกรองในกลุ่มเสี่ยง คัดกรองในกลุ่มเสี่ยงด้วย DS 8 ให้การรักษา ตามมาตรฐาน การรักษา +ve +ve +ve แจ้งผลและ ให้สุขภาพจิต ศึกษา แจ้งผลและให้สุขภาพจิตศึกษา ≥ 7 ประเมินด้วย 9Q ประเมินโรคซึมเศร้าด้วย 9Q ≥ 7 ≥ 7 ประเมินการฆ่าตัวตายด้วย 8Q, 10Q/Card check list ประเมิน การฆ่าตัวตาย ด้วย 10Q, 8Q 8Q ≥17 วินิจฉัยโรคซึมเศร้าโดยแพทย์ ≥7 9Q ≥19 ผลประเมินด้วย 9Q Non MDD MDD ติดตามด้วย 9Qหรือ/และ8Q ทุกเดือนเป็นเวลา 1 ปี Mild 9Q=7-12 Csg+Edญาติ Moderate 9Q=13-18 Rx+Csg+ Edญาติ ≥7 Severe 9Q≥19 ติดตามด้วย 9Q ซ้ำอีก 1 เดือน มีปัญหาทางสังคมจิตใจ Csg Education ไม่มีปัญหาทางสังคมจิตใจ ติดตามการรักษาจน 9Q <7 ทุก 1 เดือน เป็นเวลา 6 เดือน แล้วลดยาลงจนหยุดได้

สรุปการใช้แบบการคัดกรองและแบบประเมินโรคซึมเศร้า ประเภท เครื่องมือ การใช้ คัดกรองโรคซึมเศร้าในชุมชนและในกลุ่มเสี่ยงในสถานบริการ แบบคัดกรองด้วย DS8 การชี้แจงวัตถุประสงค์ของการคัดกรองและการประเมิน ถามด้วยภาษาที่สอดคล้องกับท้องถิ่นหรือผู้ถูกสัมภาษณ์ ควรถามให้ได้คำตอบทีละข้อ ไม่ควรอธิบายขยายความเพิ่มเติมถ้าไม่ตอบ ให้ถามซ้ำ พยายามถามให้ได้คำตอบทุกข้อ รวมคะแนนและแจ้งผลพร้อมทั้งให้คำแนะนำหรือวิธีการปฏิบัติตัวตามแนวทางต่อไป ประเมินและจำแนกความรุนแรงของโรคซึมเศร้า/ความเสี่ยงหรือแนวโน้มฆ่าตัวตาย แบบประเมินด้วย 9Q แบบประเมินฆ่าตัวตาย 8Q การวินิจฉัยโรคซึมเศร้า แบบประเมินด้วย 9Q หรือ ICD-10 การติดตามเฝ้าระวังการกลับเป็นซ้ำ

ชมวิดีโอสาธิตการใช้แบบคัดกรองและแบบประเมิน การขอใช้แบบคัดกรอง ประเมินโรคซึมเศร้า และการฆ่าตัวตาย มีการขออนุญาตประเมิน/ชี้แจง/สร้างสัมพันธภาพ/ การบอกระยะเวลาในการตอบ เน้นการถามในช่วงเวลา/ ทวนความ/เน้นคำตอบของผู้ป่วย การบอกคำตอบที่จะต้องเลือกตอบ รูปแบบการถาม ถามเพิ่มเติม เพื่อขอข้อมูล การให้ตอบ มีการให้เวลา

ขอบคุณและสวัสดี