หน่วยที่ 13 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 18 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 2
Advertisements

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 17 เครื่องวัดรูปคลื่นสัญญาณไฟฟ้า 1
หน่วยที่ 3 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดแกนเหล็กเคลื่อนที่
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
การควบคุมคลัตช์ ด้วยกลไก
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
หน่วยที่ 3 ความคลาดเคลื่อน ความถูกต้อง ความเที่ยงตรง และความไว.
หน่วยที่ 10 การขยายย่านวัด
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
หน่วยที่ 19 เครื่องวัดไฟฟ้าแบบดิจิตอลและการบำรุงรักษาเครื่องวัดไฟฟ้า
ย่านวัดแรงดัน ไฟฟ้าของ
หน่วยที่ 5 การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปร่วมกับเซนเซอร์
หน่วยที่ 14 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบไม่มีแกนเหล็ก
เพาเวอร์ แฟกเตอร์ หน่วยที่ 15 เครื่องวัด เครื่องวัดไฟฟ้า ( )
หน่วยที่ 7 ผลกระทบของแอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์
หน่วยที่ 1 แม่เหล็กไฟฟ้าและโครงสร้างของหม้อแปลงไฟฟ้า
การตรวจสอบสภาพมอเตอร์คอมเพรสเซอร์
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
การใช้งาน Microsoft Excel
โครเมี่ยม (Cr).
โครงสร้างของหุ่นยนต์เดินตาม เส้น. Sensor และหลักการ ทำงาน เซนเซอร์บนตัว หุ่นยนต์ รูปเซนเซอร์ขยายวงจรเซนเซอร์
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
หลักการเบื้องต้นของเครื่องวัดไฟฟ้า
บทที่ 8 คลื่นและคลื่นเสียง
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
เครื่องวัดความถี่ไฟฟ้า Frequency Meter
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
เครื่องวัดไฟฟ้าแบบชี้ค่า (เชิงอนุมาน)
การวัด กำลังไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้า และ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
ความเค้นและความเครียด
การจัดพลังงานโดยการควบคุมพลังไฟฟ้า
DC Voltmeter.
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้งทรงกลม
Basic Electronics.
Watt Meter.
Scene Design and Lighting Week1-3
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
เครื่องมือวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
ครั้งที่4-5วิชาวาดเส้นTV การวาดหน้า
งานเชื่อมโลหะโดยเครื่องเชื่อมไฟฟ้า
ฟิสิกส์ ฟิสิกส์ กลุ่มเรียนที่ 1 อาจารย์ผู้สอน อ.ดร. วรินทร ศรีทะวงศ์ ห้องทำงาน ห้อง 545 ชั้น 5 อาคารวิชาการ 2 (C2) โทรศัพท์ (office)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
ชุดแบตเตอรี่แรงดันสูงและแบตเตอรี่เสริม ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมโตโยต้า
แผ่นดินไหว.
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องวัดไฟฟ้า
เครื่องบันทึกและถอดข้อความ
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
SMS News Distribute Service
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย
การสะท้อนของแสงบนกระจกโค้ง
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
การทำงานของวาล์วแปรผันในเครื่องยนต์บลูคอร์ (Variable Valve Actuation)
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
Electrical Instruments and Measurements
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 13 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบ เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 13 แผ่นที่ 13-1 หน่วยที่ 13 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบ มีแกนเหล็ก   เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบมีแกนเหล็ก มงคล ธุระ

แรงบิดควบคุมของเครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่ เกิดจากอะไร เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 13 แผ่นที่ 13-2 แรงบิดควบคุมของเครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่ เกิดจากอะไร A B C D F E ถ้าเครื่องวัดไฟฟ้าไม่มีสปริง ก้นหอย แรงบิดควบคุมจะเกิดจากอะไรและเข็มชี้จะกลับสู่ตำแหน่งเดิมได้อย่างไร เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบมีแกนเหล็ก มงคล ธุระ

เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางหมายถึงอะไร เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 13 แผ่นที่ 13-3 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางหมายถึงอะไร เครื่องวัดไฟฟ้าที่เปลี่ยนปริมาณไฟฟ้าที่วัดให้เป็นปริมาณทางกลแล้วทำให้ขดลวดเคลื่อนที่ 2 ชุด ที่วางไขว้กัน(ขวางกัน)พาเข็มชี้เคลื่อนที่ไปชี้ค่าบนสเกล เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางมีกี่ชนิด? 1. แบบมีแกนเหล็ก 2. แบบไม่มีแกนเหล็ก เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบมีแกนเหล็ก มงคล ธุระ

โครงสร้างแบบมีแกนเหล็ก เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 13 แผ่นที่ 13-4 โครงสร้างแบบมีแกนเหล็ก A B C D F E ขดลวดอยู่กับที่ ขดลวดเคลื่อนที่ชุดที่2 ขดลวดเคลื่อนที่ชุดที่1 สเกล เข็มชี้ เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบมีแกนเหล็ก มงคล ธุระ

เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบมีแกนเหล็ก เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 13 แผ่นที่ 13-5 หลักการทำงาน แบบมีแกนเหล็ก (1) A B C D F E If Im1 N S A B C D F E If Im1 N S กระแสไฟฟ้า If และ Im1 เกิดพร้อมกันทำให้เข็มชี้เคลื่อนที่ไปทางด้านซ้ายมือสุด เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบมีแกนเหล็ก มงคล ธุระ

เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบมีแกนเหล็ก เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 13 แผ่นที่ 13-6 หลักการทำงาน แบบมีแกนเหล็ก (2) A B C D F E If Im2 N S A B D F E If Im2 N S C กระแสไฟฟ้า If และ Im2 เกิดพร้อมกันทำให้เข็มชี้เคลื่อนที่ไปทางด้านขวามือสุด เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบมีแกนเหล็ก มงคล ธุระ

เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบมีแกนเหล็ก เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 13 แผ่นที่ 13-7 หลักการทำงาน แบบมีแกนเหล็ก (3) A B C D F E A B C D F E If Im2 N S Im1 If If Im1 Im2 S N S N N S Im2 Im1 กระแสไฟฟ้า If Im1 และ Im2 เกิดพร้อมกันทำให้เข็มชี้อาจเคลื่อนที่ไปทางด้านขวามือหรือซ้ายมือหรือกลางสเกล เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบมีแกนเหล็ก มงคล ธุระ

ขดลวดขวางทั้งสองชุดโดย สัญลักษณ์ทางโครงสร้าง เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 13 แผ่นที่ 13-8 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดนี้ไม่มีสปริงก้นหอย ดังนั้นเมื่อเลิกทำการวัดเข็มชี้อาจอยู่ตำแหน่งใดก็ได้ ส่วนแรงบิดควบคุมเกิดจาก ขดลวดขวางทั้งสองชุดโดย ควบคุมซึ่งกันและกัน สัญลักษณ์ทางโครงสร้าง แบบมีแกนเหล็ก เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบมีแกนเหล็ก มงคล ธุระ

การประยุกต์สร้างเป็นเครื่องวัดไฟฟ้า เครื่องวัดไฟฟ้า (2104-2104) หน่วยที่ 13 แผ่นที่ 13-9 การประยุกต์สร้างเป็นเครื่องวัดไฟฟ้า เครื่องวัดเพาเวอร์แฟกเตอร์ ทำหน้าที่วัดค่าของมุม หรือ ค่าโคไซน์ (cos j) ของมุมระหว่างกระแสไฟฟ้ากับแรงดันไฟฟ้า A C B D R L cos j องศา เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดขวางแบบมีแกนเหล็ก มงคล ธุระ