หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Advertisements

ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล การปัดเศษ หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คณิตศาสตร์ ( ค 31101)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
เมนูหลัก แบบทดสอบก่อนเรียน เข้าสู่บทเรียน แบบทดสอบหลังเรียน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
บทที่ 5 การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ค คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม การแทนกราฟ.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Sc B011 Software ที่สนใจ. sc B012 VCD Cutter โปรแกรม ตัด - ต่อ VCD เฉพาะส่วนที่ ต้องการแบบง่าย ๆ.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
โครงสร้างข้อมูล (Data Structures ) รหัสวิชา การเรียงลำดับข้อมูลแบบ (Heap Sort)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 เส้นขนาน เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
ครูปพิชญา คนยืน. ทักษะ กระบวนการ ทาง คณิตศาสตร์ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 8.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
Aquifer test การทดสอบหินอุ้มน้ำ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
การประเมินผลการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป BC Account Version 5.5 Standard สำหรับงานบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ พลอย ประสงค์ทรัพย์ กลุ่มงานบัญชี
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
สมบัติของเลขยกกำลัง จัดทำโดย นางเพ็ญประภา รัตนะเดชะ.
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
4) จำนวนคู่สองจำนวนที่เรียงติดกัน เมื่อนำ 6 มาลบออกจากจำนวนที่มากกว่าแล้ว คูณด้วย 3 จะได้ผลลัพธ์เท่ากับเมื่อนำ 4 มาบวกกับจำนวนที่น้อยกว่าแล้วคูณด้วย 7.
บทที่ 8 แฮช (Hash).
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
IP-Addressing and Subneting
Number system (Review)
IP-Addressing and Subneting
อนุกรมอนันต์และการลู่เข้า
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
BC320 Introduction to Computer Programming
สารอินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่
การหาตำแหน่งภาพที่เกิดจากการสะท้อนของแสงบนกระจกเงาโค้งทรงกลม
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
Driver Service sect. Training. Video ภาพอุบัติเหตุ ที่ 1 สถานที่เกิดเหตุ : ทางด่วนขา เข้าบางนาตราด เวลาโดยประมาณ : 16: 45 น.
การแสดงเจตจำนงของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย
การวัด และหน่วย อ.รัตนสุดา สุภดนัยสร โดย
Week 5 C Programming.
2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง.
สมการพหุนาม ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
การขึ้นทะเบียนเกษตรกร คือ
พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy) คือ พลังงานที่ใช้ในการดึงอิเล็กตรอนหลุด ออกจากอะตอมของธาตุที่อยู่ในสถานะแก๊ส เช่น การทำให้ไฮโดรเจนอะตอมในสถานะ.
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
Introduction to Database System
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
Chapter 3 : Array.
เศษส่วนและทศนิยม.
แบบจำลองน้ำขึ้นน้ำลง
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง คณิตศาสตร์ (ค32101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง เรื่อง การหารากที่สอง สอนโดย ครูชนิดา ดวงแข

การหารากที่สอง โดยการประมาณ

ในการหารากที่สองของจำนวน เต็มบวก เมื่อรากที่สองไม่เป็นจำนวน เต็ม ค่าที่ได้จะเป็น จำนวนอตรรกยะ เพื่อความสะดวก ในการนำไปใช้ จึง ต้อง หาค่าประมาณของจำนวน อตรรกยะ

ในกรณีที่จำนวนที่ต้องการหาราก ที่สอง ใกล้เคียงกับจำนวนที่สามารถ หารากที่สองได้โดยง่าย ก็จะประมาณ รากที่สองของจำนวนนั้น ด้วยรากที่ สองของจำนวนที่ใกล้เคียงนั้น เช่น

34 ใกล้เคียงกับ 36 และ = 6 36 ดังนั้น ≈ 6 34 79 ใกล้เคียงกับ 81 และ = 9 81 ดังนั้น ≈ 9 79 141 ใกล้เคียงกับ144 และ =12 144 141 ดังนั้น ≈ 12

ลองทำดู

จงหาค่าประมาณเป็นจำนวนเต็ม 10 1) 10 ใกล้เคียงกับ 9 และ = 3 9 ดังนั้น ≈ 3 10

24 2) 24 ใกล้เคียงกับ 25 และ = 5 25 ดังนั้น ≈ 5 24 120 3) 120 ใกล้เคียงกับ121 และ =11 121 ดังนั้น ≈ 11 120

4) - 226 226 ใกล้เคียงกับ225 และ =15 225 226 ดังนั้น - ≈ -15

การประมาณหารากที่สองที่เป็น จำนวนอตรรกยะด้วยจำนวนเต็ม ถ้าต้องการประมาณเป็นทศนิยม จะมีแนวคิดดังตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่าง การหาค่าประมาณของ 13 เป็นจำนวนอตรรกยะซึ่งอยู่ระหว่าง 13 จำนวนเต็มบวกสองจำนวนคือ 3 และ4 แสดงได้ดังนี้ 3 9 13 16 4 n

3 9 13 16 4 n จากตาราง 13 มีค่าใกล้เคียง 9 และ 16 พอๆ กัน แต่ใกล้ 16 มากกว่าเล็กน้อย จึงประมาณ เป็นทศนิยมหนึ่ง ตำแหน่งโดยเริ่มจาก 3.5 แสดงได้ดังนี้ 13

จากตาราง 13 มีค่าใกล้เคียง 12.96 มากกว่า 13.69 จึงประมาณ 3.5 12.25 13.00 13.69 3.7 n 3.6 12.96 13 จากตาราง 13 มีค่าใกล้เคียง 12.96 มากกว่า 13.69 จึงประมาณ เป็นทศนิยมสองตำแหน่ง โดยเริ่ม จาก 3.6 แสดงได้ดังนี้ 13

จากตาราง 13 มีค่าใกล้เคียง 12.9600 และ 13.0321 พอๆ กัน แต่ใกล้ 13.0321 3.60 12.9600 13.0000 13.0321 3.61 n 13 จากตาราง 13 มีค่าใกล้เคียง 12.9600 และ 13.0321 พอๆ กัน แต่ใกล้ 13.0321 มากกว่าเล็กน้อยจึงประมาณ เป็น ทศนิยมสามตำแหน่งโดยเริ่มจาก 3.605 แสดงได้ดังนี้ 13

จากตาราง 13 มีค่าใกล้เคียง 13.003236 มากกว่า 12.996025 จึงได้ค่าประมาณ 3.605 13.000000 13.003236 3.606 n 12.996025 13 จากตาราง 13 มีค่าใกล้เคียง 13.003236 มากกว่า 12.996025 จึงได้ค่าประมาณ ของ เป็น 3.606 13 ดังนั้น ค่าประมาณของ เป็นทศนิยม สองตำแหน่ง คือ 3.61 13

ลองทำดู

1) 7 7 เป็นจำนวนอตรรกยะซึ่งอยู่ระหว่าง จำนวนเต็มบวกสองจำนวนคือ 2 และ3 หาค่าประมาณเป็นทศนิยมสองตำแหน่ง 7 1) 7 เป็นจำนวนอตรรกยะซึ่งอยู่ระหว่าง จำนวนเต็มบวกสองจำนวนคือ 2 และ3 แสดงได้ดังนี้ 2 4 7 9 3 n

2 4 7 9 3 n จากตาราง 7 มีค่าใกล้เคียง 4 และ 9 พอๆ กัน แต่ใกล้ 9 มากกว่าเล็กน้อย จึงประมาณเป็นทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง โดยเริ่มจาก 2.5 แสดงได้ดังนี้

จากตาราง 7 มีค่าใกล้เคียงกับ 6.76 มากกว่า 7.29 จึงประมาณ เป็น 2.5 6.25 7 7.29 2.7 n 2.6 6.76 จากตาราง 7 มีค่าใกล้เคียงกับ 6.76 มากกว่า 7.29 จึงประมาณ เป็น ทศนิยมสองตำแหน่ง โดยเริ่ม จาก 2.63 7

จากตาราง 7 มีค่าใกล้เคียง 7.0225 มากกว่า 6.9696 จึงได้ค่าประมาณ 2.63 6.9169 7 7.0225 2.65 n 2.64 6.9696 จากตาราง 7 มีค่าใกล้เคียง 7.0225 มากกว่า 6.9696 จึงได้ค่าประมาณ ของ เป็น 2.65 ตอบ 2.65 7

2) 20 เป็นจำนวนอตรรกยะซึ่งอยู่ระหว่าง 20 จำนวนเต็มบวกสองจำนวนคือ 4 และ5 แสดงได้ดังนี้ 4 16 20 25 5 n

4 16 20 25 5 n จากตาราง 20 มีค่าใกล้เคียง 16 และ 25 พอๆ กัน แต่ใกล้ 16 มากกว่าเล็กน้อย จึงประมาณ เป็นทศนิยมหนึ่ง ตำแหน่งโดยเริ่มจาก 4.3 แสดงได้ดังนี้ 20

จากตาราง 20 มีค่าใกล้เคียง 20.25 มากกว่า 19.36 เล็กน้อยจึงประมาณ 4.3 18.49 20 20.25 4.5 n 4.4 19.36 จากตาราง 20 มีค่าใกล้เคียง 20.25 มากกว่า 19.36 เล็กน้อยจึงประมาณ เป็นทศนิยมสองตำแหน่ง โดย เริ่มจาก 4.45 แสดงได้ดังนี้ 20

จากตาราง 20 มีค่าใกล้เคียง 19.9809 มากกว่า 20.0704 จึงได้ค่าประมาณ 4.45 20 20.0704 4.48 n 4.46 4.47 19.9809 19.8916 19.8025 จากตาราง 20 มีค่าใกล้เคียง 19.9809 มากกว่า 20.0704 จึงได้ค่าประมาณ ของ เป็น 4.47 ตอบ 4.47 20

3) 31 31 เป็นจำนวนอตรรกยะซึ่งอยู่ระหว่าง จำนวนเต็มบวกสองจำนวนคือ 5 และ6 แสดงได้ดังนี้ 5 25 31 36 6 n

5 25 31 36 6 n จากตาราง 31 มีค่าใกล้เคียง 36 มากกว่า 25 เล็กน้อย จึงประมาณ เป็น ทศนิยมหนึ่งตำแหน่งโดยเริ่มจาก 5.5 แสดงได้ดังนี้ 31

จากตาราง 31 มีค่าใกล้เคียง 31.36 มากกว่า 30.25 เล็กน้อย จึงประมาณ 5.5 30.25 31.36 31 5.6 n จากตาราง 31 มีค่าใกล้เคียง 31.36 มากกว่า 30.25 เล็กน้อย จึงประมาณ เป็น ทศนิยมสองตำแหน่งโดย เริ่มจาก 5.55 แสดงได้ดังนี้ 31

จากตาราง 31 มีค่าใกล้เคียง 31.0249 มากกว่า 30.9136 จึงได้ค่าประมาณ 5.55 31 31.0249 5.57 n 5.56 30.9136 30.8025 จากตาราง 31 มีค่าใกล้เคียง 31.0249 มากกว่า 30.9136 จึงได้ค่าประมาณ ของ เป็น 5.57 ตอบ 5.57 31

4) 53 เป็นจำนวนอตรรกยะซึ่งอยู่ระหว่าง 53 จำนวนเต็มบวกสองจำนวนคือ 7 และ8 แสดงได้ดังนี้ 7 49 53 64 8 n

7 49 53 64 8 n จากตาราง 53 มีค่าใกล้เคียง 49 มากกว่า 64 จึงประมาณ เป็นทศนิยมหนึ่ง ตำแหน่งโดยเริ่มจาก 7.1 แสดงได้ดังนี้ 53

จากตาราง 53 มีค่าใกล้เคียง 53.29 มากกว่า 51.84 จึงประมาณ 7.1 50.41 53 53.29 7.3 n 7.2 51.84 จากตาราง 53 มีค่าใกล้เคียง 53.29 มากกว่า 51.84 จึงประมาณ เป็นทศนิยมสองตำแหน่ง โดยเริ่ม จาก 7.27 แสดงได้ดังนี้ 53

จากตาราง 53 มีค่าใกล้เคียง 52.9984 มากกว่า 53.1441 จึงได้ค่าประมาณ 7.27 53 53.1441 7.29 n 7.28 52.9984 52.8529 จากตาราง 53 มีค่าใกล้เคียง 52.9984 มากกว่า 53.1441 จึงได้ค่าประมาณ ของ เป็น 7.28 ตอบ 7.28 53

การบ้าน แบบฝึกหัดที่ 2.3 ข หน้าที่ 69 ข้อ 2 ,3 และ ข้อ 4