พาราโบลา (Parabola).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
แปลคำศัพท์สำคัญ Chapter 2 หัวข้อ 2. 1 – 2
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
การดำเนินการของลำดับ
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
ผู้สอนนางนิรมล โกวรรณ์ โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ จังหวัดเขียงใหม่
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
ข้อตกลงในการเรียน พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับนำไปใช้ในเรื่อง
รู ป ว ง ก ล ม พัฒนาโดย นายวรวุธ อัครกตัญญู
พาราโบลา (Parabola).
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
ความเท่ากันทุกประการ
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
อสมการ.
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
ข้อ4.จงพิจารณาการผ่านขั้ว การสมมาตรกับแกนขั้ว กับเส้นตรง
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
Function and Their Graphs
Quadratic Functions and Models
อสมการ (Inequalities)
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3 โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
พาราโบลา (Parabola) โรงเรียนอุดมดรุณี ครูฐานิตดา เสมาทอง
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
เรื่อง สมาร์ทคิดกับคณิตศาสตร์
วงรี ( Ellipse).
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
ไฮเพอร์โบลา (Hyperbola)
สมาชิกในกลุ่ม นายจารินทร พุ่มกลั่น เลขที่ 2 นายสุทธิพร พันธุ์ดี เลขที่ 11 นางสาวเพ็ญนภา คูณเดช เลขที่ 21 นางสาวรุ่งนัดดา อ่อนพิมพ์ เลขที่ 35 นางสาวกมลทิพย์
บทที่ 3 เลขยกกำลัง เนื้อหา ความหมายของเลขยกกำลัง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทนิยาม ไฮเพอร์โบลา คือ เซตของจุดบนระนาบ ซึ่งผลต่างของระยะทางจุดเหล่านี้ไปยังจุดคงที่สองจุดบนระนาบ มีค่าคงตัวซึ่งมากกว่าศูนย์ แต่น้อยกว่าระยะห่างระหว่างจุดคงที่สองจุดนั้น.
ผลงานโดย 1. นางสาวกนกนันทน์ สารสมัคร
ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
บทที่ 1 เรขาคณิตเบื้องต้น
ความชันและสมการเส้นตรง
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
เส้นโค้งกับอนุพันธ์ สัมพันธ์กันอย่างไร?
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
บทที่8 ภาคตัดกรวย 2. ภาคตัดกรวย 2.1 วงกลม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พาราโบลา (Parabola)

นิยามของสมการพาราโบลา พาราโบลา คือเซตของจุดบนพื้นระนาบซึ่งมีระยะห่างจากจุดคงที่ เท่ากับระยะที่ห่างจากเส้นคงที่ จุดคงที่ คือจุดโฟกัส (Focus) เส้นตรงที่คงที่ คือเส้นไดเรกตริกซ์ (Directrix) เส้นลาตัสเลกตัม (Latus Rectum) คือเส้นตรงที่ลากผ่านจุดโฟกัสและตั้งฉากกับแกนของรูป แกนของรูปหรือแกนสมมาตร คือเส้นตรงที่ลากผ่านจุดยอดและผ่านจุดโฟกัส คอร์ดของพาราโบลา คือเส้นตรงที่ลากเชื่อมจุด 2 จุด ที่ต่างกันของพาราโบลาและคอร์ดที่ลากผ่านจุดโฟกัสเรียกว่า Focul ส่วนคอร์ดที่ลากผ่านจุดโฟกัสด้วย และตั้งฉากกับแกนของรูปด้วย เรียกว่า ลาตัสเรกตัม(Latus Recrum) ข้อสังเกต จากสมการ จะต้องมีตัวแปรใดตัวแปรหนึ่งอยู่ในรูปกำลังสอง และอีกตัวหนึ่งยกกำลังหนึ่ง และอยู่ที่เทอมที่บวกลบกัน กราฟที่ได้จึงจะเป็นกราฟพาราโบลา

รูปแบบของพาราโบลาที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด (0,0) พาราโบลาซึ่งมีจุดยอดที่จุด (0,0) และแกนของรูปทับแกน y พาราโบลาซึ่งมีจุดยอดที่จุด (0,0) และแกนของรูปทับแกน x

การหาจุดยอด กำหนดสมการ y = - x2 + 4x – 1 จงหาจุดยอดของพาราโบลา แล้วแทนค่า x ในสมการ parabola เพื่อหาค่า y กำหนดสมการ y = - x2 + 4x – 1 จงหาจุดยอดของพาราโบลา 2 y x = - + 4 1 - = a b 1 4 , y = - + 2 4 1 ( ) x b a = - 2 y = - + 4 8 1 ( - x = 4 2 1 )( ) y = 3 ดังนั้น จุดยอดของพาราโบลาคือ (x,y) = (2,3)

ตารางค่าและกราฟ เลือกสองค่าใด ๆ ของ x ที่อยู่ทางซ้าย หรือ ขวาของจุดยอด แทนค่าในสมการเพื่อหาค่า y ลงจุด และเขียนกราฟ ซึ่งกราฟสมมาตรรอบแกน x= โปรดสังเกตว่าจุดทางซ้าย-ขวาห่างแกนเท่ากัน x y x y = -x2 + 4x -1 y y = -(1)2 + 4(1) - 1 y = -1 + 4 - 1 1 2 y = -(-1)2 + 4(-1) -1 y = -1 - 4 -1 -1 -6

เราสามารถสรุปสมการพาราโบลาออกมาได้ดังนี้

การหาจุดยอด สร้างตารางค่า และเขียนกราฟพาราโบลา ตัวอย่าง การหาจุดยอด สร้างตารางค่า และเขียนกราฟพาราโบลา

ตัวอย่างที่ 1 y x จุดยอดคือ (2,-4)

ตัวอย่างที่ 2 x y จุดยอดคือ (0,3)

ตัวอย่างที่ 3 x y จุดยอดคือ (3,-5)

การนำพาราโบรามาใช้ในชีวิตประจำวัน การขว้างปาสิ่งของ การแกว่งเปล การยิงปืน

สมาชิก M.4/1 ☺☻☺ ♠นาย ณรงค์ เรืองฤทธิ์ เลขที่ 4 ♠นาย ณรงค์ เรืองฤทธิ์ เลขที่ 4 ♣นางสาว จีระภา สุดทุ่งกง เลขที่ 17 ♦นางสาว ไหมทอง เรืองธำรงค์ เลขที่ 24 ♥นางสาว ชลทิชา สังฆะสา เลขที่ 27 M.4/1 ☺☻☺