ALIVE NURSING RECORD ดร. วันทนา ถิ่นกาญจน์ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
กระทำหน้าที่ตามเป้าหมายขององค์กรอย่างสมบูรณ์
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
แนวทางการรับรอง มาตรฐาน การประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษา อนุมงคล ศิริเวทิน อนุมงคล ศิริเวทิน.
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
HA คืออะไร วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
กระบวนการคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ธุรกิจ จดหมาย.
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด4 10คำถาม.
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
มาตรฐาน งานเทคนิคการแพทย์2551
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
ผลลัพธ์การเรียนรู้:ผลการจัดการความรู้
แนวทางการพัฒนาคลินิก DPAC
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การธำรงรักษาระบบคุณภาพหลังการรับรอง
Service Profile สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล 27 สิงหาคม 2551
คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
:: Pitfall : การบริหารการพยาบาล ::
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
การเรียนรู้ ผ่าน SERVICE PROFILE
การเรียนทางคลินิก โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ALIVE NURSING RECORD ดร. วันทนา ถิ่นกาญจน์ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

ALIVE มีชีวิต (ชีวา) Having life Lively or animated

What is nursing record? ข้อความที่แสดงถึงกิจกรรมการพยาบาล (Nursing activities) ทั้งหมดที่ จดไว้เป็นหลักฐาน สิ่งที่เกี่ยวกับผู้ใช้บริการ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับผู้ใช้บริการ สิ่งที่พยาบาลปฏิบัติเพื่อให้การดูแลแก่ผู้ใช้บริการทั้งทางตรงและทางอ้อม

คุณค่าของการบันทึกทางการพยาบาล พัฒนา คุณภาพการพยาบาล หลักฐานทางกฎหมาย เสถียรภาพ ของวิชาชีพ พัฒนาการศึกษา พัฒนาเอกสิทธิ์ ทางการพยาบาล พัฒนาการวิจัย

มาตรฐานการพยาบาลและผดุงครรภ์ สภาการพยาบาล ความสอดคล้อง มาตรฐานการพยาบาลและผดุงครรภ์ สภาการพยาบาล มาตรฐาน HA : สรพ. บริบทขององค์กร คุณภาพของ สปสช.

เรื่อง บันทึกทางการพยาบาล ใน มาตรฐานการพยาบาลและผดุงครรภ์ ประกาศสภาการพยาบาล เรื่อง บันทึกทางการพยาบาล ใน มาตรฐานการพยาบาลและผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528, 2540

มาตรฐานที่ 5: การบันทึกและการายงาน มีความครอบคลุมการพยาบาลในทุกระยะ อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่แรกรับจนถึงจำหน่าย มีความชัดเจนในกระบวนการพยาบาลทุกขั้นตอน มีการใช้แบบฟอร์มการบันทึกที่มีมาตรฐานและมีการพัฒนาแบบบันทึกให้สามารถบันทึกได้อย่างครบถ้วนและแปลผลการบันทึกได้อย่างแม่นยำ

มาตรฐานที่ 5: การบันทึกและการรายงาน ผลการบันทึกสามารถสะท้อนคุณภาพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ได้ มีระบบการตรวจสอบคุณภาพและความสมบูรณ์ของบันทึกทางการพยาบาลเพื่อการปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ

สถาบันรับรองมาตรฐานสถานพยาบาล Hospital Accreditation: HA

บันทึกทางการพยาบาล ต้องแสดงถึงการ พยาบาลผู้รับบริการแบบองค์รวม ต่อเนื่อง และเป็นประโยชน์ในการสื่อสาร ประสาน การดูแลที่ต่อเนื่อง การประเมินคุณภาพการ พยาบาลและการวิจัย

เกณฑ์การประเมินคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล 1. มีการบันทึกอาการแรกรับของพยาบาลครบถ้วนตามฟอร์มที่หน่วยบริการ กำหนดและสอดคล้องกับการบันทึกของแพทย์ (อย่างน้อยต้องประกอบด้วย อาการที่มา ประวัติการเจ็บป่วยในอดีตและปัจจุบันและการตรวจประเมิน ผู้ป่วย) 2. มีการบันทึกการให้ยา สารน้ำ การให้เลือด ฟอร์มปรอทและการบันทึก I/O (ถ้า มีคำสั่งการรักษา) ถูกต้อง ครบถ้วน ตามคำสั่งการรักษาของแพทย์

เกณฑ์การประเมินคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล 3. มีการบันทึกทางการพยาบาล ในส่วนของการวินิจฉัยทางการพยาบาล ที่ สอดคล้องกับสภาพปัญหาของผู้ป่วย 4. มีการบันทึกทางการพยาบาล ในส่วนของข้อมูลสนับสนุนการวินิจฉัยทางการ พยาบาล 5. มีการบันทึกทางการพยาบาล ในส่วนของการวางแผนการพยาบาลและกิจกรรม การพยาบาลที่สอดคล้องกับการวินิจฉัยทางการพยาบาล

เกณฑ์การประเมินคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล 6. มีการบันทึกทางการพยาบาล ในส่วนของการประเมินผลหลังการให้การ พยาบาลที่สอดคล้องกับการวางแผนการพยาบาลและกิจกรรมทางการพยาบาล 7. มีการลงนามและวันเดือนปีและเวลาที่รับทราบคำสั่งการรักษาของแพทย์ 8 มีการบันทึกทางการพยาบาลด้วยลายมือที่สามารถอ่านได้ง่ายและลงลายมือ ชื่อผู้บันทึก 9 การวางแผนการจำหน่าย ( Discharge planning) อย่างน้อยการนัดตรวจครั้ง ต่อไป/การปฏิบัติตัว/ Home health care

จุดเน้น ชัดเจน ครอบคลุม ต่อเนื่อง การสื่อสาร กระบวนการพยาบาล การพยาบาล แบบบันทึกที่เป็นมาตรฐาน ประสานการดูแล ที่ต่อเนื่อง การพยาบาล แบบองค์รวม สะท้อนคุณภาพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ประเมินคุณภาพการพยาบาล การวิจัย

ทำอย่างไรให้บันทึกทางการพยาบาลมีชีวิต (ชีวา)?

ศาสตร์ทางการพยาบาล (Nursing Science) พยาบาลจึงต้องมี... ศิลปะ (Art)

“ศาสตร์” ช่วยได้อย่างไร? มองเห็นปัญหาได้ชัดเจน ครอบคลุม อธิบายเหตุและผลได้อย่างถูกต้อง เชื่อมโยงประเด็นต่างๆ ได้สอดคล้องกัน

“ศิลปะ” ช่วยได้อย่างไร? การบันทึกทางการพยาบาล ● เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติการพยาบาล (Nursing practice) ● เป็นการสื่อสารด้วยการเขียน (Written communication)

“ศิลปะ” ช่วยได้อย่างไร? ● ช่วยในการถ่ายทอดสิ่งที่ต้องการสื่อสาร ให้เข้าใจได้ ● สร้างคุณค่าและคุณภาพการบันทึก ● เกิดคุณภาพของการพยาบาล