ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ ความหมายของการวิจารณ์ ผลงานทางทัศนศิลป์ ทฤษฎีการวิจารณ์ ศิลปะ
ความหมายของการวิจารณ์ผลงานทางทัศนศิลป์ การแสดงออกทางความคิดเห็น ต่อผลงาน โดยให้ความคิดเห็นตามหลักเกณฑ์ทางศิลปะ โดยวิธีการติชม เสนอข้อคิดเห็น เพื่่อการปรับปรุงพัฒนางานต่อไป
นักเรียนมีคิดเห็นอย่างไรกับภาพนี้
ความหมายของการวิจารณ์ผลงานทางทัศนศิลป์ การแสดงออกทางความคิดเห็น ต่อผลงาน โดยให้ความคิดเห็นตามหลักเกณฑ์ทางศิลปะ โดยวิธีการติชม เสนอข้อคิดเห็น เพื่่อการปรับปรุงพัฒนางานต่อไป หรืออาจใช้วิธีการในการฝึกดู วิเคราะห์ หรือคิดเปรียบเทียบถึงคุณค่าของผลงานศิลปะ (วิเคราะห์ คือ การแยกแยะ ศึกษาองค์รวมของงานศิลปะออกเป็นส่วนๆ ทีละประเด็นๆ ในด้านเทคนิค กรรมวิธีแสดงออก)
นักเรียนมีคิดเห็นอย่างไรกับภาพนี้
นักเรียนมีคิดเห็นอย่างไรกับภาพนี้
นักเรียนมีคิดเห็นอย่างไรกับภาพนี้
นักเรียนมีคิดเห็นอย่างไรกับภาพนี้
นักเรียนมีคิดเห็นอย่างไรกับภาพนี้
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ องค์ประกอบในการวิจารณ์ ผลงานทางทัศนศิลป์ ความหมายของการวิจารณ์ ผลงานทางทัศนศิลป์ ทฤษฎีการวิจารณ์ ศิลปะ
องค์ประกอบในการวิจารณ์ผลงานทางทัศนศิลป์ ศิลปะสื่อผสม ประติมากรรม จิตรกรรม ผลงาน คนดู ศิลปิน สถาปัตยกรรม วาดเส้น ภาพพิมพ์
สรุปองค์ประกอบประกอบไปด้วย ศิลปิน ผลงาน ทางทัศนศิลป์ คนดู
ลักษณะการวิจารณ์งานศิลปะ วิจารณ์ตามความรู้สึกของผู้วิจารณ์ ใช้ประสบการณ์ ตามเจตคติ ตลอดจนความประทับใจและสะเทือนใจต่อผลงาน สามารถวิจารณ์ได้ทันที 2.วิจารณ์ตามเนื้อหาสาระของผลงาน วิจารณ์ตามองค์ประกอบศิลป์ เนื้อหาการแสดงออก ตลอดจนความคิดริเริ่ม โดยใช้หลักทางศิลปะเป็นข้อมูล
หลักการวิจารณ์ ดูการ์ดที่ติดใกล้ผลงาน บอกชื่อผลงาน ขนาดผลงาน ดูว่าศิลปะสาขาใด ดูสิ่งที่ทำให้เกิดมิติในผลงาน ดูส่วนประกอบของความงาม ดูการจัดภาพ ดูทฤษฎีการถ่ายทอดทางศิลปะ ดูเรื่องราวที่นำมาสร้างเกี่ยวกับเรื่องใด ดูคุณค่าทางความงามและคุณค่าทางเรื่องราว
คุณสมบัติของนักวิจารณ์ ควรมีความรู้เกี่ยวกับศิลปะประจำชาติและศิลปะสากล ควรมีความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ควรมีความรู้เกี่ยวกับสุนทรียศาสตร์ ช่วยให้รู้แง่มุมของความงาม ต้องมีวิสัยทัศน์กว้างขวางและไม่คล้อยตามคนอื่น กล้าที่จะแสดงออกทั้งที่เป็นไปตามหลักวิชาการ ตามความรู้สึกและประสบการณ์
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ องค์ประกอบในการวิจารณ์ ผลงานทางทัศนศิลป์ ความหมายของการวิจารณ์ ผลงานทางทัศนศิลป์ ทฤษฎีการวิจารณ์ ศิลปะ ขั้นตอนและวิธีการในการวิจารณ์ ผลงานทางทัศนศิลป์
ขั้นตอนการวิจารณ์ ขั้นระบุข้อมูลของผลงาน(ชื่อผลงาน ศิลปิน เทคนิค วิธีการ) ขั้นการบรรยาย(บันทึกข้อมูลเบื้องต้น และมีเทคนิคการสร้างสรรค์แบบใด) ขั้นการวิเคราะห์(ลักษณะภาพรวมผลงานประเภทใด รูปแบบถ่ายทอดแบบใด จำแนกทัศนธาตุ องค์ประกอบศิลป์) ขั้นตีความหมาย(เป็นการค้นหาความหมายของผลงาน ว่าศิลปินต้องการสื่อให้รับรู้อะไร เช่นปัญหาสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น) ขั้นการประเมินคุณค่า(เป็นการพิจารณาภาพรวมทุกข้อเบื้องต้น สรุปให้เห็นข้อดี ข้อด้อยในด้านเนื้อหาและเรื่องราว หลักทัศนธาตุ การจัดองค์ประกอบศิลป์ ทักษะฝีมือ และการถ่ายทอดความงาม)
ต้องพิจารณาโดยจัดแยกประเภท ภาพเหมือนจริง ภาพกึ่งนามธรรม ภาพนามธรรม การบรรยายภาพ ต้องพิจารณาโดยจัดแยกประเภท ภาพเหมือนจริง ภาพกึ่งนามธรรม ภาพนามธรรม
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ องค์ประกอบในการวิจารณ์ ผลงานทางทัศนศิลป์ ความหมายของการวิจารณ์ ผลงานทางทัศนศิลป์ ทฤษฎีการวิจารณ์ ศิลปะ เป้าหมายของการวิจารณ์ ผลงานทางทัศนศิลป์ ขั้นตอนและวิธีการในการวิจารณ์ ผลงานทางทัศนศิลป์
ประโยชน์ของการวิจารณ์ต่อผู้วิจารณ์ ทำให้ทราบถึงความเคลื่อนไหวของวงการศิลปะ ทำให้เกิดปัญญา รู้ ให้เหตุผลที่ถูกต้อง มีความละเอียดประณีตอยู่ในส่วนลึก มีเหตุผล มีความเที่ยวธรรม ทำให้เป็นผู้แสวงหาความรู้อยู่เสมอ
ประโยชน์ของการวิจารณ์ต่อผู้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะ มีโอกาสแสดงความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง รับทราบแนวคิดของผู้อื่น เพื่อ..... เกิดพลังอย่างมีประสิทธิภาพในการสร้างสรรค์ต่อไป ได้ผลงานทางศิลปะที่มีประโยชน์ต่อส่วนรวม มีความเข้าใจต่อกันในทางที่ดีระหว่างผู้สร้างสรรค์และผู้วิจารณ์