ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลักษณะการประสบภัย น้ำหลาก / น้ำป่า – แรง เร็ว ใช้เวลาไม่นาน
Advertisements

กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร และพัฒนาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
นโยบาย สพฐ. ปี
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
รายงานผลการเยี่ยมพื้นที่ กิจกรรม R2 กีฬาสัมพันธ์ต้านยาเสพติด วันที่ 14 เมษายน 2555 ณ บ้านปะตาบาระ หมู่ 1 ตำบลปะเสยะวอ อ.สายบุรี จ.ปัตตานี
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การจัดการศึกษาในชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
พลตรี นพดล พิศวง รองผอ.รมน.สระบุรี
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การมีส่วนร่วม ของชุมชน. 1. อะไรคือการมีส่วนร่วม 2. การมีส่วนร่วมสำคัญ อย่างไร 3. ประโยชน์ของการมีส่วนร่วม 4. ระดับของการมีส่วนร่วม 5. เทคนิคที่นิยมใช้ในการ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
กลุ่มที่ 1 กลุ่มภาคเหนือและภาคตะวันออก
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
กลุ่มที่ 1.
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
ปัญหาของการจัดการน้ำคือ อะไร เพราะเหตุใด ประชาชนจะร่วมกันจัดการ น้ำได้อย่างไร ใครบ้างที่ควรเข้ามาร่วม คำถาม.
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
คณะอนุกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ระดับจังหวัด/อำเภอ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
(พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว)
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
กระบวนการกลุ่ม เครือข่ายการตลาด
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เสวนาพาเพลิน อปท. กับ รางวัลพระปกเกล้า
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ 1
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค เป็นการขยายการทำงาน ให้มีความรวดเร็วมากขึ้น จำเป็นเพราะจะได้เรียนรู้ปัญหาของเครือข่าย เข้าใกล้กับ เหตุการณ์มากขึ้น เสริมสร้างความสามัคคี ทำให้มีพลังในการต่อรอง

องค์ประกอบ/โครงสร้าง และการได้มาของสมาชิกเครือข่าย ภาคประชาชนระดับภูมิภาค ควรเป็นรูปแบบใด ในจังหวัดมีตัวแทนในเครือข่ายเข้าไปเป็นกรรมการในระดับภูมิภาคด้วย ตัวแทนภาคประชาชน 3 คน ตัวแทนเอกชน 3 คน ตัวแทนนักการเมืองท้องถิ่น 3 คน ตัวแทนกลุ่มอาชีพ 3 คน ตัวแทนนักวิชาการ 3 คน ตัวแทนองค์กรพัฒนาเอกชน 3 คน นอกจากจะเป็นตัวแทนองค์กรต่าง ๆ แล้วควรมีสมาชิกในชุมชนหรือ อาสาสมัครมาร่วมทำงานด้วย จำนวนของสมาชิกเครือข่ายที่มาเป็นสมาชิกของเครือข่ายภูมิภาคมาจังหวัด ละ 18 คน ที่มาของ 18 คน มาอย่างไร ? ในแต่ละเครือข่ายคัดเลือกส่งตัวแทนมากลุ่มละ 3 คน เป็นบุคคลที่มีความเป็นผู้นำ ดำรงตนอยู่ในศีลธรรมและมีจริยธรรม

โครงสร้างเครือข่ายภาคประชาชนในการบริหาร จัดการภาครัฐระดับภาค แบบที่ 1 ประธานเครือข่าย การมีส่วนร่วมภาคประชาชน ตัวแทนภาค ประชาชน ตัวแทนภาค เอกชน ตัวแทน นักการเมือง ท้องถิ่น ตัวแทน กลุ่มอาชีพ ตัวแทน นักวิชาการ ตัวแทน องค์กรพัฒนา เอกชน 18 คน ต่อ 1 จังหวัด ทั้งภูมิภาคจำนวน 342 คน

เหตุผลที่เลือกโครงสร้างเครือข่ายนี้ ข้อดี ภูมิหลังเหมือนกัน การผลักดันในงานต่าง ๆ ทำได้ง่าย เรียนรู้ ร่วมกันได้ง่าย ส่งต่อข้อมูลลงมาระดับล่างได้ง่ายและครอบคลุม ข้อด้อย ขาดความหลากหลายในกลุ่ม ขาดโอกาสการเรียนรู้ร่วมกัน ความแตกต่างด้านพื้นที่ ทำให้มีปัญหาความแตกต่าง แต่ต้อง เลือกสมาชิกที่มีความขันติสูงมาปฏิบัติงาน

เครือข่ายภาคประชาชนในระดับภูมิภาคควรมีบทบาท หน้าที่ และวิธีการดำเนินงานควรเป็นอย่างไร มีสิทธิตรวจสอบทั้งข้าราชการการเมืองและข้าราชการประจำ ทำตัว เหมือนตาวิเศษ เฝ้าระวังเรื่องการตรวจสอบ การเสนอแนะการปฏิบัติงาน ให้ข้อมูล เพื่อนำไปสู่การวางแผน งบประมาณ บริหารงบประมาณ ติดตามและประเมินผลงบประมาณ เฝ้าระวังเรื่องจริยธรรม คุณธรรมของข้าราชการการเมืองและ ข้าราชการประจำ มีธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน เครือข่ายมีศักยภาพดึงทรัพยากรจากภายนอกเข้ามาเพื่อพัฒนา ตนเอง มีการประชาสัมพันธ์ ให้บุคคลภายนอกได้เข้าถึงข้อมูลได้มากขึ้น เป็นช่องทางการประสานงานจากเครือข่ายระดับล่าง เป็นช่องทางข้อมูลพื้นฐานของภาคประชาชนไปถึงภาคราชการ

ตรวจสอบการปฏิบัติงานของตนเองภายในเครือข่าย รวมไปถึงการ พัฒนาตนเอง เฝ้าระวังในหลาย ๆ เรื่อง เช่น เรื่องทรัพยากรธรรมชาติ การเมือง ทุกระดับ เข้าไปตรวจสอบของผลการทำงานของจังหวัด เข้าถึงข้อมูลงบประมาณของจังหวัดได้ สามารถเสนอกฎกติกาเกี่ยวกับปัญหาสังคมเพื่อให้เกิดการแก้ไขใน ระดับพื้นที่ได้ เฝ้าระวังในเรื่องการปฏิบัติตามกฎหมายโดยเคร่งครัด (สุรา บุหรี่ ฯลฯ)

การสนับสนุน และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเครือข่าย ภาคประชาชนในระดับภูมิภาคควรได้มาอย่างใด ต้องมีกฎหมายรองรับในการทำงานของเครือข่าย ต้องมีงบประมาณสนับสนุนในการปฏิบัติหน้าที่ ควรสนับสนุนอำนวยความสะดวกเรื่องสถานที่ปฏิบัติงาน มีการสนับสนุนทางวิชาการ เช่นให้ความรู้ อบรม ศึกษาดูงานนอก พื้นที่ มีที่ปรึกษาทางกฎหมายภายในกลุ่ม ควรจะมีหน่วยงานอิสระรับผิดชอบเป็นพี่เลี้ยงของเครือข่ายอย่าง ชัดเจน ส่งเสริมด้านความรู้ภาคประชาชนที่ยังขาดความรู้