นโยบายการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2552 โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
2) ต้องดำเนินการ ตามเกณฑ์การ ประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ ของ ก. พ. ร. ตาม “ คำรับรอง ” 3) ต้องพัฒนา ระบบบริหาร จัดการภาครัฐให้ ได้ตาม เกณฑ์ PMQA โจทย์ที่กรมอนามัย ต้องดำเนินการ KPI 12 1) ต้องบรรลุ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์กรม อนามัย ปัญหา คือ ยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบ ( มิติ 2- 4) ไม่ได้มีความสัมพันธ์ กับเป้าหมายยุทธศาสตร์ ที่ต้องการให้บรรลุ รวมทั้ง PMQA ก็ไม่ สามารถรองรับ ยุทธศาสตร์ได้ กพร. กรม อนามัย
นโยบายการพัฒนาระบบ PMQA ปี การดำเนินการ PMQA ต้องให้ผู้บริหารระดับกลางมีส่วนร่วม ในการตัดสินใจและกำหนดทิศทางร่วมกัน 2.ให้เน้นการนำ PMQA มาเป็นเครื่องมือในการพัฒนา ระบบงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามพันธกิจ และ ยุทธศาสตร์ โดยต้องประสานการพัฒนา PMQA เข้ากับงาน ประจำขององค์การ 3.ต้องมีกลไกที่ดำเนินการที่เป็นเอกภาพและมีการบูรณาการ (ทั้งหน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ /หน่วยงานเจ้าภาพระบบ บริหารงาน) 4.ปรับปรุงบทบาทของทีม Fast Track ให้เป็น Facilitator ที่ คอยสนับสนุนช่วยเหลือหน่วยงานหลัก รวมทั้งทำหน้าที่ M&E ในเรื่อง PMQA ด้วย 1.การดำเนินการ PMQA ต้องให้ผู้บริหารระดับกลางมีส่วนร่วม ในการตัดสินใจและกำหนดทิศทางร่วมกัน 2.ให้เน้นการนำ PMQA มาเป็นเครื่องมือในการพัฒนา ระบบงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามพันธกิจ และ ยุทธศาสตร์ โดยต้องประสานการพัฒนา PMQA เข้ากับงาน ประจำขององค์การ 3.ต้องมีกลไกที่ดำเนินการที่เป็นเอกภาพและมีการบูรณาการ (ทั้งหน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ /หน่วยงานเจ้าภาพระบบ บริหารงาน) 4.ปรับปรุงบทบาทของทีม Fast Track ให้เป็น Facilitator ที่ คอยสนับสนุนช่วยเหลือหน่วยงานหลัก รวมทั้งทำหน้าที่ M&E ในเรื่อง PMQA ด้วย กพร. กรม อนามัย
นโยบายการพัฒนาระบบ PMQA ปี เพื่อให้เกิดการประสานงานที่ดี จึงให้กำหนดบทบาทหน้าที่ (Role and Function) ของหน่วยงานให้ชัดเจน - หน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ - หน่วยงานเจ้าภาพระบบบริหารงานกลาง 6.หน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ ต้องเป็นหลักในการใช้ PMQA ในดำเนินการงาน โดยวิเคราะห์ความเสี่ยง วาง ระบบงาน กระบวนงานหลัก กำลังคนที่ต้องพัฒนา และระบบ IS เพื่อให้มั่นใจว่า ยุทธศาสตร์จะบรรลุผล 7.หน่วยงานเจ้าภาพระบบบริหารงาน ต้องกำหนด“ระบบงาน เป้าหมาย”ที่จะพัฒนาในแผนพัฒนาองค์กร (โดยวิเคราะห์ จากเกณฑ์ PMQA และ OFI ของหมวด1-6) และจัดทำ แผนพัฒนา“ระบบงานเป้าหมาย” โดยจำแนกบทบาทของ หน่วยงานเจ้าภาพ(PO) กับ หน่วยงานย่อยให้ประสาน สอดคล้องกัน 5.เพื่อให้เกิดการประสานงานที่ดี จึงให้กำหนดบทบาทหน้าที่ (Role and Function) ของหน่วยงานให้ชัดเจน - หน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ - หน่วยงานเจ้าภาพระบบบริหารงานกลาง 6.หน่วยงานเจ้าภาพยุทธศาสตร์ ต้องเป็นหลักในการใช้ PMQA ในดำเนินการงาน โดยวิเคราะห์ความเสี่ยง วาง ระบบงาน กระบวนงานหลัก กำลังคนที่ต้องพัฒนา และระบบ IS เพื่อให้มั่นใจว่า ยุทธศาสตร์จะบรรลุผล 7.หน่วยงานเจ้าภาพระบบบริหารงาน ต้องกำหนด“ระบบงาน เป้าหมาย”ที่จะพัฒนาในแผนพัฒนาองค์กร (โดยวิเคราะห์ จากเกณฑ์ PMQA และ OFI ของหมวด1-6) และจัดทำ แผนพัฒนา“ระบบงานเป้าหมาย” โดยจำแนกบทบาทของ หน่วยงานเจ้าภาพ(PO) กับ หน่วยงานย่อยให้ประสาน สอดคล้องกัน กพร. กรม อนามัย
2) ต้องดำเนินการ ตามเกณฑ์การ ประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ ของ ก. พ. ร. ตาม “ คำรับรอง ” 3) ต้องพัฒนา ระบบบริหาร จัดการภาครัฐให้ ได้ตาม เกณฑ์ PMQA แนวคิดใหม่ที่ กรมอนามัยจะตอบโจทย์ 1) ต้องบรรลุ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์กรม อนามัย หมวด 7 กพร. กรม อนามัย
อธิบดีให้แนวคิดการบูรณาการ โดยใช้ Matrix ระหว่าง PMQA กับประเด็นยุทธศาสตร์ หมวด 6 (กระบวนงาน) หมวด 5 (HRM) หมวด 4 (ระบบข้อมูล,KM) หมวด 3 (ให้ความสำคัญ C/SH) หมวด 2 (จัดทำแผน/ถ่ายทอด) หมวด 1 (การนำองค์กร) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 มิติที่ 1 ประสิทธิผล มิติที่ 2 คุณภาพบริการ มิติที่ 3 ประสิทฺภาพ มิติที่ 4 พัฒนาองค์กร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 หมวด1 หมว ด 2 หมว ด 3 หมว ด 4 หมว ด 5 หมว ด 6 ประเด็นยุทธศาสตร์ ( ภายใต้ PIRAB+ Six Key Function) Out come 4 perspecti ve PMQAPMQA ผลลั พธ์ หมว ด 7
หมวด 7 หมวด 7 ผลลัพธ์ 4 มิติ Vision / Mission / Share value SLM./Obj./KRI./Target/Strategy หมวด 3 หมวด 3 ความ ต้องการของ C/SH. นโยบายรัฐบาล/ กท.สธ. สภาพปัญหา HP./Env.H. หมวด 1 การนำองค์กร หมวด 2 แผนยุทธศาสตร์ การวิเคราะห์ ความเสี่ยง OFI องค์กร การถ่ายทอด เป้าหมาย(KPI) สู่หน่วยงาน (SMหน่วยย่อย) หมวด 6 หมวด 6 การปรับ กระบวนงาน หลัก/สนับสนุน หมวด 4 หมวด 4 การวัด ระบบ สารสนเทศ และ ระบบ KM. หมวด 5 หมวด 5 การวางระบบงาน / HRD./การประเมิน บุคคล/ค่านิยม/ จรรยาข้าราชการ กำกับดูแล ตัวเองที่ดี คำรับรอง กพร. กรม อนามัย การเชื่อมโยง PMQA เข้ากับงานประจำ (ยุทธศาสตร์เป็นตัวตั้ง)
กระทรวงสาธารณสุข อาสาสมัคร เข้าสู่การประเมินผล การปฏิบัติราการ กระทรวงสาธารณสุข อาสาสมัคร เข้าสู่การประเมินผล การปฏิบัติราการ กรอบการประเมินผลการปฏิบัติ ราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของส่วนราชการนำร่อง
1)การบรรลุเป้าหมายระดับกระทรวง 20 บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ (13) บรรลุเป้าหมายร่วมระหว่างกระทรวง (5) ความสำเร็จเรื่องศูนย์บริการร่วม (2) มิติ : ประสิทธิผล (50%) มิติ : พัฒนา องค์กร (20%) มิติ : คุณภาพ บริการ (15%) มิติ : ประสิทธิภาพ (15%) 8)ร้อยละการเบิกจ่ายงบลงทุน 4 4) ร้อยละของระดับความพึงพอใจของ ผู้รับบริการ 5 14) ความสำเร็จในการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ (PMQA) 20 การถ่ายทอดตัวชี้วัดการพัฒนาระบบราชการปี 2552 กรมอนามัย 2) การบรรลุเป้าหมายระดับกลุ่มภารกิจ 10 3) การบรรลุเป้าหมายระดับ กรม 20 บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์กรม บรรลุผลผลิตตามเอกสารงบฯ 6) การป้องกันปราบปรามทุจริต 5 5) การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารราชการ 5 11) ระบบตรวจสอบภายใน 3 10)ระบบต้นทุนต่อหน่วยฯ 3 9) การประหยัดพลังงาน 3 12) แผนพัฒนา กม. 2 ตัวชี้วั ด ก. พ. ร. ปี 52 กพร. กรม อนามัย กองแผนฯ/ เจ้าภาพยุทธ์ สลก./กพร. กอง จ. สลก. กอง ค. กตส. กอง ค. สลก. ศกม. เจ้าภาพระบบงานฯ/ คกก.สนับสนุนฯ
กรอบการประเมินระดับกระทรวง (KPI 1) ตัวชี้วัดที่ น้ำหนัก (ร้อยละ) เกณฑ์ 1.1.1) ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบ สุขภาพที่ตอบสนองต่อปัญหาของจังหวัด ชายแดนภาคใต้ (อัตราตายมารดา 36/100,000) 3 2 ขั้นตอน + ผลลัพธ์ 1.1.3) ร้อยละสถานบริการที่มีคุณภาพตาม มาตรฐานที่กำหนด 1 ผลลัพธ์ (65+/-5) 1.1.5) ระดับความสำเร็จในการลดอัตราป่วย/ ตามด้วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ (โรค หลอดเลือดในสมอง/โรคหัวใจ/โรคเนื้อ งอกร้าย/โรคเบาหวาน/โรคความดัน/วัณ โรค/ไข้เลือดออก/การฆ่าตัวตาย) 4 2 ขั้นตอน + ผลลัพธ์ (เป็นร้อยละ) 1.1.6) ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน ความปลอดภัยด้านอาหาร (สุ่มตรวจอาหาร สด / ตลาดสด / ร้าอาหาร / แผงลอย ตามแนวทาง กสธ.) 2 5 ขั้นตอน (เชื่อมโยงกับ จังหวัด)
กรอบการประเมินระดับกลุ่มภารกิจ ด้านพัฒนาการสาธารณสุข (KPI 2) ตัวชี้วัดที่ น้ำหนัก (ร้อยละ) เกณฑ์ 2.1) จำนวนโรงพยาบาลมีกระบวนการเป็น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ - ในสังกัด - นอกสังกัด 3 1 ขั้นตอน + ผลลัพธ์ (178+/ /-5) 2.2) ร้อยละของหน่วยงานสาธารณสุข ที่สามารถ ปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพตามมาตรฐานที่ กำหนด 3 1 ขั้นตอน + ผลลัพธ์ (40 %) 2.3) ระดับความสำเร็จในการจัดการผลงาน วิชาการในการส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ รวมทั้ง อนามัยสิ่งแวดล้อม 4 3 ขั้นตอน + ผลลัพธ์ (50% และ 1เรื่อง)
กรอบการประเมินระดับกรมอนามัย (KPI 3) ตัวชี้วัดที่ น้ำหนัก (ร้อยละ) เกณฑ์ 3.1) ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ถ่วงน้ำหนัก ตามเป้าหมายผลผลิต(ตามเอกสารงบฯ) 5 80, 85, 90, 95, 100% 3.2) ระดับความสำเร็จของโรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัวระดับทอง ขั้นตอน 100, 130, ) ระดับความสำเร็จของโรงเรียนส่งเสริม สุขภาพระดับทอง ผ่านเกณฑ์ระดับเพชร ขั้นตอน, 36, 40,44 3.4) ระดับความสำเร็จของสำนักงานสาธารณสุข จังหวัดที่ผ่านเกณฑ์ประเมินเป็นองค์กรไร้พุง ขั้นตอน 38, 45, 70 จว. 3.5) ร้อยละของโรงพยาบาล(สังกัด สธ.) & โรงเรียน(สพฐ.) มีส้วมผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ส้วมสาธารณะ ,65,70,75,80% 20,30,40,50,60% 3.6) ร้อยละร้านอาหารและแผงลอยได้มาตรฐาน CFGT , 82.5, 84.0, 85.5, 87.0% 3.7) ร้อยละของตลาดประเภทที่ 1 ผ่านเกณฑ์ ระดับดีและดีมาก , 74.7, 79.2, 81.7, 84.2%
(1) กองแผนฯ ร่วมกับ เจ้าภาพ ยุทธ์เพื่อถ่ายทอดเป้าหมายยุทธ์ (2) กพร.ร่วมกับเจ้าภาพระบบงาน เพื่อถ่ายทอดตัวชี้วัด GG./PMQA (3) จัดการประชุมชี้แจงหน่วยงานย่อย เพื่อเตรียมการจัดทำคำรับรอง (23-24มี.ค.) (4) พิธีลงนาม “คำรับรอง” (3 เม.ย.ช่วงบ่าย) กำหนดการจัดทำคำรับรองฯ
มุ่งเน้นปฏิบัติมากกว่าการ เขียนรายงาน เน้นระบบงานและการสร้าง ความเชื่อมโยงกับผลลัพธ์ เน้นการปรับปรุงอย่าง ต่อเนื่องและบูรณาการ เน้นการพัฒนามากกว่าการ ได้รางวัล แนวคิดการพัฒนา PMQA เกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) เกณฑ์ 90 คำถาม เกณฑ์ 52 ประเด็น
Roadmap การพัฒนาองค์การ กรมด้านบริการ กรมด้านนโยบาย 1 เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ ตัวอย่าง
“ (TQC) รางวัล “คุณภาพ แห่งชาติ” (TQC) (350 คะแนน) “ (TQC) รางวัล “คุณภาพ แห่งชาติ” (TQC) (350 คะแนน) เป้าหมายการพัฒนาระบบราชการ ของกรมอนามัย ?? รางวัล PMQA “Fundamen tal Level” (52 ประเด็น) รางวัล คุณภาพ แห่งชาติ (TQA) 650 คะแนน) 650 คะแนน) รางวัล คุณภาพ แห่งชาติ (TQA) 650 คะแนน) 650 คะแนน) ปี 52 ปี 54 ปี 53 รางวัล PMQA “Success- ful Level” ปี ??
การตั้งธงในการพัฒนาระบบ PMQA “ (TQC) รางวัล “คุณภาพ แห่งชาติ” (TQC) (350 คะแนน) Fundamental Level Successfu l Level END Mean 48 เกณฑ์ PMQA /TQA (90 คำถาม) เหมือนกัน/เรียนรู้มาแล้ว ข้อเสีย (ของเดิม) -ต้องอธิบายเกณฑ์ ใหม่ทุกปี -เกณฑ์เป็นแท่งๆ ไม่เชื่อมโยงกัน ข้อดี : (ของใหม่) -เห็นเป้าหมายระยะ ยาวชัดเจน -มีการพัฒนาเกณฑ์ อย่างต่อเนื่องในระยะ เวลาพอสมควร
นโยบายการขับเคลื่อน PMQA กำหนดให้ขับเคลื่อนทุก ระบบงาน ( ทุกหมวด ) ในทุก ประเด็นยุทธศาสตร์ ภายใต้เงื่อนไข กรมอนามัยปักธงการพัฒนา PMQA ตามเกณฑ์สากล TQC ระดับ 350 คะแนน “ ร่วมทำเต็มที่ หวัง ผลได้ คะแนน เรียนรู้ เป็นหลัก ”
กพร. กรม อนามัย