L/O/G/O อาร์เรย์ และฟังก์ชั่นจัดการ สตริง. www.themegallery.com วัตถุประสงค์ เข้าใจหลักการของอาร์เรย์ และประยุกต์ใช้ งานได้ เปรียบเทียบความแตกต่างของอาเรย์แบบต่าง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Arrays.
Advertisements

สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ข้อมูลชนิดสตริง String บทที่ 8
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)
BC322 ครั้งที่ 13 Array 2 มิติ BC322 Computer Programming-Array Processing.
ตัวแปรชุด (Array) Chapter Introduction to Programming
สายอักขระและ การประมวลผลสายอักขระ (String and String manipulation)
Principles of Programming
บทที่ 3 ตอนที่ 1 คำสั่งเงื่อนไขและการตัดสินใจ(p
Data Type part.II.
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Lecture 11: อาร์เรย์แบบหลายมิติ
Lecture 10: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
ทบทวน อาร์เรย์ (Array)
Array.
LAB # 3 Computer Programming 1
Microsoft Excel 2007.
ARRAY.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
โจทย์ Array 12 มี.ค จงเขียนโปรแกรมเพื่ออ่านข้อมูลเข้าเป็นจำนวนเต็ม 10 จำนวน แล้วหาผลรวมของเลขเหล่านั้น.
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
อาเรย์ (Array).
ตัวแปรชุด.
Arrays.
Arrays.
Kairoek Choeychuen M.Eng (Electrical), KMUTT
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
C Programming Lecture no. 6: Function.
ARRAY ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
SCC : Suthida Chaichomchuen
ตัวแปรชุดของอักขระ String
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
อาร์เรย์และข้อความสตริง
บทที่ 2 อาร์เรย์ อาร์เรย์ คือ ชุดของตัวแปรเดียวกัน ซึ่งสมาชิกของอาร์เรย์จะเป็นตัวแปรพื้นฐาน จำนวนสมาชิกในอาร์เรย์มีขนานแน่นอน และสมาชิกของอาร์เรย์แต้ละตัว.
อาร์เรย์ (Array).
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
อาร์เรย์ หรือแถวลำดับ (Array)
บทที่ 8 อาร์เรย์.
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ความสัมพันธ์เวียนบังเกิด
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
แถวอักขระ (string) ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
Liang, Introduction to Java Programming, Sixth Edition, (c) 2007 Pearson Education, Inc. All rights reserved Java Programming Language.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
Week 12 Engineering Problem 2
การเขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน
Week 12 Engineering Problem 2
บทที่ 10 สตริง.
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณ 2 ตัว
L/O/G/O ฟังก์ชั่นการรับและ แสดงผล และฟังก์ชั่นทาง คณิตศาสตร์
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
บทที่ 11 การจัดการข้อมูลสตริง
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
1 สตริง (String) การประกาศค่าตัวแปรสตริง การกำหนดค่าสตริง การอ้างอิงตัวอักษรแต่ละตัวในสตริง ฟังก์ชั่นที่ใช้ในการจัดการสตริง ฟังก์ชั่นในการเปลี่ยนรูปแบบของสตริง.
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

L/O/G/O อาร์เรย์ และฟังก์ชั่นจัดการ สตริง

วัตถุประสงค์ เข้าใจหลักการของอาร์เรย์ และประยุกต์ใช้ งานได้ เปรียบเทียบความแตกต่างของอาเรย์แบบต่าง ๆได้ สามารถเขียนโปรแกรมเพื่อจัดเก็บข้อมูลลงใน อาร์เรย์ สามารถเขียนโปรแกรมเพื่อจัดการกับข้อความ หรือสตริงได้ สามารถแปลงข้อความที่เป็นตัวเลข นำไปใช้ เพื่อการคำนวณได้

ความหมายของ Array อาร์เรย์หรือตัวแปรชุด คือ ตัวแปรที่ใช้เก็บข้อมูล แบบกลุ่มหรือตัวแปรเดียวเก็บค่าได้หลาย ๆ ค่า int a1, a2, a3, a4, a5, a6, a7; int a[7]; a[0], a[1], a[2], a[3], a[4], a[5], a[6];

อาร์เรย์ 1 มิติ Datatype arrayname[size]; a[0]a[1]a[2]a[3]…...a[98]a[99] dataType คือชนิดข้อมูล arrayName คือชื่อตัวแปรอาร์เรย์ Size คือขนาดที่แสดงจำนวนสมาชิก ของอาร์เรย์

อาร์เรย์ 1 มิติ ตัวอย่าง char text[25]; int sc[10]; int {70,65,68,72,80,62,68,71,58,66}; sc[0]sc[1]sc[2]sc[3]sc[4]sc[5]sc[6]sc[7]sc[8]sc[9]

อาร์เรย์ 1 มิติ ตัวอย่าง char color[4] = {‘R’,’E’,’D’,’\0’}; char color[4] = “RED”; char color[ ] = “RED”; RED\0 color[0]Color[1]Color[2]Color[3]

อาร์เรย์ 1 มิติ ตัวอย่าง char t[10]=“ERROR!”; ERROR!\0 t[0]t[1]t[2]t[3]t[4]t[5]t[6]t[7]t[8]t[9]

อาร์เรย์ 2 มิติ Datatype arrayname[row] [column]; dataType คือชนิดข้อมูล arrayName คือชื่อตัวแปรอาร์เรย์ Row คือจำนวนแถว Column คือ จำนวนคอมลัมน์

อาร์เรย์ 2 มิติ ตัวอย่าง int n[4][5] colunm 0colunm 1colunm 2colunm 3colunm 4 row 0n[0][0]n[0][1]n[0][2]n[0][3]n[0][4] row 1n[1][0]n[1][1]n[1][2]n[1][3]n[1][4] row 2n[2][0]n[2][1]n[2][2]n[1][3]n[2][4] row 3n[3][0]n[3][1]n[3][2]n[1][3]n[3][4]

อาร์เรย์ 2 มิติ การกำหนดค่าเริ่มต้นให้อาร์เรย์ 2 มิติ int a[4][5] = { {1,2,3,4,5}, {6,7,8,9,10}, {11,12,13,14,15}, {16,17,18,19,20}}; int a[4][5] ={1,2,3,4,5,6,7,8,9,10,11,12,13,14,15,16,17,18,19,20};

อาร์เรย์ 2 มิติ colunm 0colunm 1colunm 2colunm 3colunm 4 row 0n[0][0]n[0][1]n[0][2]n[0][3]n[0][4] row 1n[1][0]n[1][1]n[1][2]n[1][3]n[1][4] row 2n[2][0]n[2][1]n[2][2]n[1][3]n[2][4] row 3n[3][0]n[3][1]n[3][2]n[1][3]n[3][4]

อาร์เรย์ 2 มิติ char color[4][10] = {“RED”,”YELLOW”,”BLUE”,”BLACK”}; RED\0 YELLOW BLUE BLACK

ฟังก์ชั่นจัดการสตริง ฟังก์ชั่น strcopy() strcpy(destination, source); Source คือข้อความ หรือ ตัวแปรสตริง Desination คือตัวแปรที่ใช้เก็บค่า ข้อมูลใน source strcpy(text, “Congratuation..you”); strcpy(text, “Sorry..you failed”);

ฟังก์ชั่นจัดการสตริง ฟังก์ชั่น strcmp() strcmp(string1,string2); String1 และ string2 คือ ตัวแปรชนิดสตริงที่ นำมาเปรียบเทียบ strcmp(a1,a2); strcmp(b1,b2);

ฟังก์ชั่นจัดการสตริง ฟังก์ชั่น strcat() strcat(target,source); Target คือตัวแปรสตริง Source คือตัวแปรสตริงที่นำมา ผนวกรวมกับ target strcat(str1,str2); strcat(str3,str4);

L/O/G/O Thank You!