จิตวิทยาการปรึกษาเบื้องต้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสอนงาน (Coaching) Internal Training & Coaching
Advertisements

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการ
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
การศึกษารายกรณี.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
วิธีการทางสุขศึกษา.
การกำหนดสมรรถนะ (COMPETENY)
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
การเป็นอาจารย์ที่ปรึกษามืออาชีพด้วยศาสตร์การให้คำปรึกษา
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
การสื่อสารเพื่อการบริการ
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
หน่วยที่ 7 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมสุขภาพ
ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
สุขภาพจิต และการปรับตัว
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
มนุษยสัมพันธ์ในการทำงาน
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การพัฒนาสายอาชีพพนักงาน
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรใหม่ พ. ศ คณะ / วิทยาลัย
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
ขวา ซ้าย.
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
วิชาวิศวกรรมความรู้ - การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กร
จรรยาบรรณ เรื่องส่งเสริมเสรีภาพในวิชาชีพ
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
พลัง อึด ฮึด สู้ อึด...ทนต่อแรงกดดัน วิธีการ : คิดเชิงบวก ควบคุม อารมณ์ ลดความเครียด คลายอารมณ์ ฮึด...มีกำลังใจวิธีการ : self talk , ขอจากคนอื่น , แรงศรัทธา.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 10 การส่งเสริมการขายโดยใช้บุคคล
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
วิชาธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ สัปดาห์ที่ 1
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
มศว 142 วิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
ADDIE Model.
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ความเป็นครู.
จิตวิทยาการปรึกษาเบื้องต้น
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
เทคนิคการให้คำปรึกษา
ปัญหาจริยธรรมในทางธุรกิจ
โดย ผศ.ดร.เสริมศิริ อัครพุฒิพันธ์
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การพัฒนาตนเอง.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
A.L.T.C. 12/1 เสฏฐนันท์ อังกูรภาสวิชญ์ L.T. ผู้ตรวจการลูกเสือประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ จิตวิทยาการเรียนการสอน และการแนะแนว
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จิตวิทยาการปรึกษาเบื้องต้น สัปดาห์ที่ 1 ชุดที่ 1 นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะครุศาตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

หัวข้อเนื้อหา สัปดาห์ที่ 1 ชุดที่ 1 1. ความหมายของการให้คำปรึกษา 2. องค์ประกอบของการให้คำปรึกษา 3. ขอบข่ายของการให้คำปรึกษา 4. หลักการของการให้คำปรึกษา 5. จุดมุ่งหมายของการให้คำปรึกษา

(1.) การให้คำปรึกษา (Counseling) คืออะไร?

การให้คำปรึกษาเป็นกระบวนการช่วยเหลือ (Helping Process) ให้บุคคลได้สำรวจตนเอง (Self-exploration) จนเกิดความเข้าใจตนเอง (Better understanding) และการลงมือปฏิบัติอย่างเหมาะสม (Appropriate Action) เพื่อการแก้ปัญหา การปรับตัว การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่พึงปรารถนา การบริหารจัดการชีวิตที่เหมาะสม จนนำไปสู่การพัฒนาตนเองให้เป็นผู้ที่มีความเจริญงอกงามส่วนบุคคล (Personal Growth)

กระบวนการที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล อาศัยการสื่อสารแบบสองทาง ระหว่างบุคคลหนึ่งในฐานะผู้ให้การปรึกษา ซึ่งทำหน้าที่เอื้ออำนวยให้อีกฝ่ายหนึ่ง ซึ่งเป็นผู้รับการปรึกษาได้สำรวจและทำความเข้าใจ ถึงสิ่งที่เป็นปัญหาและแสวงหาหนทางแก้ไขปัญหาเหล่านั้นได้ด้วยตนเอง

ความหมายของการให้คำปรึกษา เป็นกระบวนการของความสัมพันธภาพระหว่าง ผู้ให้คำปรึกษา กับ ผู้รับคำปรึกษา เพื่อเข้าใจตนเอง ผู้อื่น และสิ่งแวดล้อม เพื่อปรับปรุงทักษะในการตัดสินใจ แก้ปัญหา เพื่อนำตนเอง ซึ่งได้รับการฝึกอบรมโดยเฉพาะ

การให้คำปรึกษา เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ที่มีจุดมุ่งหมายในการแก้ปัญหาต่าง ๆ

เมื่อเราเอื้ออำนวยให้มนุษย์ได้สำรวจตนเองแล้ว ก็จะทำให้เขามีความเข้าใจตนเองและรู้จักตนเอง จนสามารถวิเคราะห์ได้ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นมาจากไหนอย่างไร และลงมือปฏิบัติในการแก้ปัญหาของตน การจัดการบริหารชีวิตอย่างเหมาะสม

(2.) องค์ประกอบเบื้องต้นของการให้คำปรึกษา

องค์ประกอบเบื้องต้นของการให้คำปรึกษา 1. องค์ประกอบที่เกี่ยวกับการจูงใจ (Motivational Factor) 2. ความสัมพันธ์ระหว่างผู้รับคำปรึกษา กับผู้ให้คำปรึกษา (The counselee-Counselor Relatinship)

3. ความรับผิดชอบในการตัดสินใจของผู้รับคำปรึกษา (The counselee,s Decision Making Responsibility) 4. การเคารพนับถือในสิทธิส่วนตัวที่ผู้ให้คำปรึกษามีต่อผู้รับคำปรึกษาในขณะสนทนา (The counselor,s respect for the privacy of communication)

(3.) ขอบข่ายของการให้คำปรึกษา 1. ด้านการศึกษา 2. ด้านการศึกษาต่อและอาชีพ 3. ด้านส่วนตัวและสังคม

(4.) หลักการการให้คำปรึกษา

ต้องอาศัยหลักการต่าง ๆ ที่สำคัญดังนี้ การให้คำปรึกษาถือว่าเป็นวิชาชีพแห่งการช่วยเหลือ (Professional Helping ) ต้องอาศัยหลักการต่าง ๆ ที่สำคัญดังนี้

1. ผู้ให้ความช่วยเหลือที่เรียกว่าผู้ให้คำปรึกษา (Counselor) เป็นผู้ที่ได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับทักษะทางวิชาชีพในด้านการช่วยเหลือ (Professional Skills) มาเป็นอย่างดี เป็นผู้ที่ได้รับการฝึกฝนตนเอง เพื่อให้มีการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ (Self - Developing Skills)

2. ผู้มาขอรับบริการหรือขอความช่วยเหลือ (Client) ซึ่งเป็นผู้ที่มีปัญหา มีความคับข้องใจและความไม่สบายใจต่างๆ ที่ยังไม่สามารถจัดการกับความรู้สึกดังกล่าวได้ จึงมีความต้องการที่จะแสวงหาความช่วยเหลือเพื่อแก้ไขปัญหาเหล่านั้น

3. ผู้ให้ความช่วยเหลือจะต้องสร้างสัมพันธภาพที่ดีให้เกิดขึ้น ซึ่งถือว่าเป็นเครื่องมือพื้นฐานและเป็นหัวใจสำคัญในการให้ความช่วยเหลือ

4. มีจรรยาบรรณเชิงวิชาชีพในการให้ความช่วยเหลือ

(5.) จุดมุ่งหมายของการให้คำปรึกษา

การให้คำปรึกษามีจุดมุ่งหมายอย่างไร?

จุดมุ่งหมายของการให้คำปรึกษามี 2 ระยะ จุดมุ่งหมายระยะสั้น (Short-term goals) จุดมุ่งหมายระยะยาว (Long-term Goals)

จุดมุ่งหมายระยะสั้น จะเกี่ยวข้องโดยตรงกับการช่วยให้ผู้มาขอรับคำปรึกษาได้มองเห็นปัญหา อุปสรรค จนสามารถวิเคราะห์ได้ว่าอะไรคือสาเหตุ และสามารถลงมือปฏิบัติเพื่อการแก้ปัญหา การจัดการกับความทุกข์ที่เกิดขั้น การปรับตัว การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เหมาะสม และจะนำไปสู่จุดมุ่งหมายระยะยาว

จุดมุ่งหมายระยะยาว มีทักษะชีวิตในทุกๆ มิติ ตลอดจนการพัฒนาตนเอง (Personal Growth) นำไปสู่การดำเนินชีวิตที่สงบ เย็น เป็นประโยชน์และสร้างสรรค์

ซักถาม – อภิปราย