เล่าจื๊อผู้ให้กำเนิดลัทธิเต๋า
ศาสนาเต๋า เต๋าเป็นทุกอย่าง เป็นทั้งผู้สร้าง เป็นทั้งคุณธรรมด้านต่างๆ เพราะฉะนั้นจึงมีผู้ตีความหมายเต๋าไปต่างๆ กันเต๋าน่าจะตรงกับ ธรรมในพุทธศาสนามากกว่าอย่างอื่น เพราะคำว่า ธรรม มีความหมายกว้าง หมายทั้งธรรมชาติ กฎธรรมชาติและผลของธรรมชาติ นอกนี้ยังหมายถึงธรรมหรือคุณธรรมอย่างที่เข้าใจกัน
ศาสนาเต๋า ๒. เน้นความกลมกลืนกับธรรมชาติ ๓. เต๋า ทาง ทิพยบรรดา ๑. เหล่าจื้อ ๒. เน้นความกลมกลืนกับธรรมชาติ ๓. เต๋า ทาง ทิพยบรรดา ๔. เดิมมีลักษณะเป็นปรัชญา ศาสนา : เต้าสือ, เต๋าเก๊กเก้ง ๕. ไม่ชอบยุ่งการเมืองหรือสังคม เพราะถือว่ายุ่งวุ่นวายกับกฏเกณฑ์
** ผู้ที่ตั้งลัทธิเต๋า ขึ้นแท้ที่จริงแล้วคือ “เตียเต๋าเล้ง” ** ๖. จริยธรรมที่สำคัญในศาสนาก็คือ การใช้ชีวิตกับธรรมชาติเพื่อสู่ ความเป็นเต๋า ลัทธินี้เกิดขึ้นจากความเชื่อถือบูชาพระเจ้าประจำธรรมชาติ ผสมกับความเชื่อในวิชาเล่นแร่แปรธาตุ ผลิตยาอายุวัฒนะหรือยาทิพย์ ** ผู้ที่ตั้งลัทธิเต๋า ขึ้นแท้ที่จริงแล้วคือ “เตียเต๋าเล้ง” **
ลักษณะพิธีกรรมของลัทธิเต๋า พิธีกรรมเน้นหนักไปทางด้านอภินิหาร - พิธีทำให้อยู่ยงคงกระพัน หนังเหนียว กระดูกแข็ง - พิธีนำฌานถอดดวงวิญญาณไปรวมกับเต๋า - พิธีปรุงยาอายุวัฒนะให้มีอายุยืน พิธีกรรมของเต๋าคล้ายกับการบำเพ็ญโยคะของพวกโยคีอินเดีย สาวกพวกนี้เรียกว่า “เต๋ายิ้น”
๗. ปรัชญาในการดำเนินชีวิตให้ดีขึ้น ๗.๑ รู้จักตนเองให้ถูกต้อง ๗.๒ ชนะตนเองให้ได้ ๗.๓ มีความรู้พอกับตนเอง ๗.๔ มีเต๋าเป็นอุดมคติ
เหลาจื้อแบ่งมนุษย์เป็น ๒ ประเภทคือ ๑. สาธุชน คือผู้ที่รู้จักนำเต๋าที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ดุจทารกแรกเกิด ควบคุมจิตใจให้อยู่ในภาวะที่บริสุทธิ์ ๒. ทุรชน คือ ผู้มีเต๋า แต่ลืมเต๋าโดยสิ้นเชิง จึงปฏิบัติตนเป็นคนชั่ว
สัญลักษณ์ของศาสนาเต๋า รูปเล่าจื๊อขี่กระบือ อันเป็นเครื่องหมายการเดินทางครั้งสุดท้ายเมื่ออกจากหน้าที่ทางราชการแล้วและมีความเชื่อว่าเล่าจื๊อยังไม่ตาย
เล่าจื้อ จางเต๋าหลิง
พิธีกรรม ๒. พิธีปราบผีปิศาจ ๓. พิธีการไหว้บูชาวิญญาณของบรรพบุรุษ ๑. พิธีบริโภคอาหารเจ ๒. พิธีปราบผีปิศาจ ๓. พิธีการไหว้บูชาวิญญาณของบรรพบุรุษ ๔. พิธีที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาอื่น ๕. พิธีกรรมอื่น ๆ
นิกาย ๑. เฮ็ง-อิ - กลุ่มที่อยู่ทางใต้ นิกายนี้เชื่อโชคลางอภินิหารและคาถาอาคม จึงมีคาถามากมาย นักบวชของนิกายนี้มีความเป็นอยู่แบบชาวบ้านทั่วไป และมีครอบครัวได้ ๒. ชวน-เชน - กลุ่มที่อยู่ทางเหนือ นิกายนี้มุ่งดำเนินตามคำสอนเต๋า ดำเนินชีวิตให้กลมกลืนกับธรรมชาติ รักสงบ รับประทานมังสวิรัติ นักพรตจะไม่แต่งงาน ไม่ดื่มน้ำเมา
คัมภีร์ในศาสนา “เต๋า เต็ก เกง”
สรุปลักษณะพื้นฐานของศาสนาเต๋า ถ้าเป็นแบบปรัชญาเต๋า ก็เป็นธรรมชาตินิยม แต่ถ้าเป็นแบบศาสนาก็เป็นรหัสนิยม เน้นเข้าถึงเต๋า โดยการค้นหาความจริงภายใน ถ้าเป็นแบบปรัชญา ก็ปฏิบัติอกรรม คือไม่ทำอะไรด้วยอุปทาน จุดหมายสูงสุดคือเต๋าเพื่อเป็นอมตบุคคล