วุ้นมะพร้าว หรือ วุ้นสวรรค์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการของเสีย โดยวิธีทำให้เป็นก๊าซชีวภาพ
Advertisements

ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
เม็ดขนุนเชื่อม.
การผลิตเชื้อจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืช
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
การมีชีวิตอยู่รอดและการก่อโรคของRhizoctonia solani (Khun)ใน ปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพ Survival and Pathogenicity of Rhizoctonia solani(Khun) in Bio-Extract Fertilizer.
การถนอมอาหาร.
ที่มา ที่มา โครงงาน เห็ดนางฟ้า.
~ ชาเขียว ~.
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
Chemical Properties of Grain
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
โดย: ด.ช.นพวิทย์ วงษ์เจริญ ด.ญ.ลักษิกา บูรณศักดิ์ศรี
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
ขนมไทย จัดทำโดย ด. ช. กลวํชร เชื้อเกตุ ด. ช. ณัฐชนน กำจาย เสนอ อ
whey เวย์ : casein เคซีน
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
โครงการอบรม เรื่อง การผลิตน้ำส้มสายชูหมักจากข้าว ดร. นันทพร พึ่งสังวร
องค์ความรู้น้ำส้มควันไม้ สายด่วนข้อมูลปฏิรูปที่ดิน
ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 435/2540 เรื่อง กำหนดประเภทของโรงงานอุตสาหกรรมที่อนุญาตให้ระบายน้ำทิ้งให้มีค่ามาตรฐานแตกต่างจากค่ามาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งที่กำหนดไว้ในประกาศกรมเจ้าท่า.
เรื่อง น้ำยาไล่แมลงวัน
สายใยในผัก โดย กลุ่ม รักสุขภาพ.
น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น
โรงเรียนจ่านกร้อง จ.พิษณุโลก
การปลูกพืชกลับหัว.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
ไข่ตุ๋น.
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
นส.ศิริพันธุ์ ไชยสุริยา รหัสนิสิต
ผลไม้ลดความอ้วน.
การผลิตเชื้อรา ไตรโคเดอร์มาชนิดสด
************************************************
สมคิด เฉลิมเกียรติ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 7ว
ข้าวกล้องงอก ข้าวกล้องหอมมะลิงอก ข้าวกล้องข้าวเหนียวดำ
ขั้นตอนการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์ม่า ในข้าวสุก
ผลของสารสกัดสะเดา ในการป้องกันและกำจัดแมลง
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
โรครากเน่าโคนเน่าส้ม
โรคกรดไหลย้อน ท้องอืดรักษาด้วย น้ำกระเพรา.
ข้าวแต๋น.
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
โครงงานคุณธรรมธุรกิจ เรื่องน้ำหมักชีวภาพอเนกประสงค์ คณะผู้จัดทำ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม   โรงเรียนหนองบัวพิทยาคม อำเภอท่าวังผา.
น้ำมะขาม น้ำกระเจี๊ยบแดง
การจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน
กิจกรรมลดปริมาณขยะก่อนทิ้งในวิทยาลัย
หลักการและเหตุผล. - ปี หนอนกออ้อยระบาดขยาย
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
1.สารลดแรงตึงผิว 2.ฟอสเฟต 3.ซิลิเกต 4.โซเดียมคาร์บอคซีเมทิลเซลลูโลส
เรื่อง น้ำสมุนไพร. โดย เด็กหญิง นิศาชล เทพวงค์. มัธยมศึกษาปีที่ 1/3
จัดทำโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
ส่วนผสมหน้าเค้ก นมเย็น
ประโยชน์ของผลไม้ไทย.
“เอ็น (N) พี (P) และ เค (K)”
โดย ด.ช.กฤษณรักษ์ ปิ่นตา ม.1/4 เลขที่ 16
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
เรื่อง วุ้นสายรุ้ง จัดทำโดย นางสาว ผการัตน์ มาคง เลขที่ 12
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
เรื่อง น้ำสมุนไพร.
ประโยชน์ที่ได้รับจากการรับประทาน ประเทศที่นิยมรับประทาน
การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐานในถุงพลาสติก โดยใช้วัสดุขี้เลื่อยไม้ยางพารา
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
น้ำสนุมไพร ถัดไป.
น้ำสมุนไพร ถัดไป.
การผลิตเชื้อราบิวเวอร์เรียระบบเปิดเทคนิคปลอดเชื้อ ( Aseptic thicnique ) ด้วยข้าวเปลือก นายชาญยุทธ อุปัชฌาย์ นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ สำนักงานเกษตรอำเภอจอมบึง.
ด.ช. อเนชา จันทคง เลขที่ 20 ชั้น 2/6.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วุ้นมะพร้าว หรือ วุ้นสวรรค์ (NATA de Coco) “วุ้นมะพร้าว หรือ วุ้นสวรรค์” เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกระบวนการหมักน้ำมะพร้าว ซึ่งอาจเป็นผลพลอยได้ (by product) จากการผลิตน้ำกะทิ (coconut milk) หรือน้ำมันมะพร้าว (coconut oil) โดยกิจกรรมของแบคทีเรียกรดน้ำส้ม (Acetic acid bacteria) มีชื่อเรียกว่า Acetobacter xylinum ที่พบได้ทั่วไปในการทำน้ำส้มสายชูหมักตามธรรมชาติ แบคทีเรียกรดน้ำส้มนี้ผลิตโพลิแซคคาร์ไรด์ หรือโพลิเมอร์ของน้ำตาลกลูโคสต่อกันด้วยพันธะ B-1,4 glycosidic bond ปริมาณและสารอาหารในวุ้นมะพร้าว •น้ำ 94.40% •ไขมัน 0.05% •ไฟเบอร์ 1.10% •เถ้า 0.77% •คาร์โบไฮเดรต 3.00 % •แคลเซียม 34.50 mg/100 g •เหล็ก 0.20 mg/100 g •ฟอสฟอรัส 22.00 mg/100 g •ไทอามีน 0.01 mg/100 g •ไรโบเฟลวิน 0.06 mg/100 g •ไนอาซีน 0.22 mg/100 g Acetobacter xylinum Polysaccharides ประโยชน์ของวุ้นมะพร้าว -มีแคลอรี่ต่ำ ช่วยควบคุมน้ำหนัก -ช่วยในการขับถ่าย -ช่วยป้องกันมะเร็งลำไส้ -ไฟเบอร์ของวุ้นเป็น gel form ร่างกายนำมาใช้ประโยชน์ได้ง่ายกว่าไฟเบอร์จากพืช ในระบบทางเดินอาหารของมนุษย์จะไม่มีน้ำย่อยหรือเอนไซม์ใดๆ ที่สามารถย่อยสลายวุ้นน้ำมะพร้าวนี้ได้ ดังนั้นวุ้นน้ำมะพร้าวจึงถูกจัดเป็นสารอาหารประเภทเส้นใยอาหาร (Dietary fibers) www.techno.msu.ac.th

การผลิตวุ้นมะพร้าว หรือ วุ้นสวรรค์ www.techno.msu.ac.th การผลิตวุ้นมะพร้าว หรือ วุ้นสวรรค์ (The Making of NATA de Coco) การเตรียมหัวเชื้อเริ่มต้น (starter) •น้ำมะพร้าวสดใหม่ 100 มิลลิลิตร (ซีซี.) •น้ำตาลทราย (0.5-1.0%) 0.5-1.0 กรัม •หัวเชื้อวุ้น Acetobacter xylinum •ขวดแก้วสะอาด (เช่น ขวดโซดา) •สำลีและกระดาษสมุดหน้าเหลือง/กระดาษปอนด์ การเตรียมส่วนผสม •น้ำมะพร้าวจากผลแก่ 1 ลิตร •น้ำตาลทราย (0.5-1.0%) 50-100 กรัม •หัวน้ำส้มสายชู (5%) 1 ช้อนโต๊ะ •สารแอมโมเนียมซัลเฟต 0.5-1.0 กรัม •เหล้าขาว (เอทธานอล) 100-150 00 มล. •หัวเชื้อ A. xylinum 100-200 มล. วิธีการเตรียมหัวเชื้อเริ่มต้น 1. นำน้ำมะพร้าวและน้ำตาลทรายผสมกันตามอัตราส่วนข้างต้นผสมในหม้อ 2. ปิดฝาหม้อ ต้มให้เดือดนาน 10-15 นาที 3. นำไปบรรจุลงในขวดแก้วสะอาด ปิดปากขวดด้วยจุกสำลี 4. นำไปหล่อเย็นในอ่างน้ำ 5. เมื่อขวดเย็นแล้ว เติมหัวเชื้อวุ้นบริสุทธิ์ลงไปปิดจุกสำลีแล้วหุ้มด้วยกระดาษสมุดหน้าเหลือง หรือกระดาษหนังสือพิมพ์ 6. นำไปบ่มไว้ที่อุณภูมิห้อง เป็นเวลาประมาณ 2-3 วัน เชื้อจะเจริญเติบโต โดยจะสังเกตเห็นแผ่นวุ้นขุ่นๆ เป็นชั้นบางๆ พร้อมใช้งานเพื่อเป็นหัวเชื่อเริ่มต้น วิธีการผลิตวุ้นมะพร้าว 1. นำน้ำมะพร้าวมาผสมกับน้ำตาลทรายและแอมโมเนียมซัลเฟต ตามอัตราส่วนข้างต้น ลงในหม้อ 2. ปิดฝาหม้อแล้วต้มให้เดือดนาน 10-15 นาที 3. จากนั้นนำหม้อมาหล่อเย็นในอ่างน้ำ 4. ทิ้งไว้พออุ่นๆ จึงเติมกรดอะซิติก เหล้าขาว และหัวเชื้อวุ้นลงไป ผสมให้เข้ากัน (ผสมทุกอย่างตามอัตราส่วนที่กำหนดและถ้าต้องการการผลิตแผ่นวุ้นหลายๆแผ่นจะ ต้องเพิ่มอัตราส่วนตามกำหนด) 5. นำถาดสเตนเลสหรือถาดพลาสติกที่เตรียมไว้ (โดยผ่านการลวกฆ่าเชื้อถาดด้วยน้ำร้อนเรียบร้อยแล้ว ปิดถาดด้วยกระดาษปอนด์ที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยการใช้เตารีดร้อนๆ) 6. เปิดกระดาษออกเล็กเล็กน้อย เพื่อเติมอาหารเลี้ยงเชื้อวุ้นข้างต้นลงไปในถาดโดยให้มีความสูงประมาณ 3-4 ซม. จากก้นถาด 7. ปิดด้วยกระดาษเหมือนเดิมเพื่อป้องกันฝุ่นหรือเชื้ออื่นลงไป แต่อากาศยังสามารถผ่านเข้าออกได้ 8. นำไปวางไว้ในห้องบ่มเลี้ยงเชื้อเป็นระยะเวลา 7-14 วันโดยประมาณ หรือทำการเลี้ยงเชื้อจนกระทั่งอาหารเกือบแห้งจะได้แผ่นวุ้นที่มีความหนา ประมาณครึ่งหนึ่งของความสูงของอาหารเลี้ยงเชื้อ การแปรรูป นำมาแปรรูปเป็นอาหารคาวหวานได้ เช่น วุ้นลอยแก้ว รวมมิตร นำมาแทนน้ำปลาหมึกหรือแมงกะพรุนในอาหารประเภทต่างๆ นอกจากนี้ยังนิยมนำมาผสมในเยลล่ี โยเกิร์ต