กระบวนทัศน์ใหม่สู่เส้นทางพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยยุคไอที ยืน ภู่วรวรรณ รองอธิการบดีฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ yuen@ku.ac.th
หัวข้อที่จะกล่าวถึง แนวคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ทำไมต้องใช้ ICT กับการสร้างกิจกรรมการศึกษา ประสบการณ์จากโครงการโรงเรียนต้นแบบไอซีที และ สสวท การจัดการความรอบรู้กับบัณฑิตอุดมคติไทย กระบวนการและการดำเนินการ ตัวอย่างการใช้กิจกรรมที่ทดลอง แนวโน้มที่สำคัญ และการรองรับการเปลี่ยนแปลง
แนวโน้มเศรษฐกิจโลก (new economy, digital economy, internet economy) การเจริญเติบโตของเทคโนโลยี ICT แรงขับดันจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สังคมดิจิตอล และ digital devide ทำให้เกิดความกังวลในเรื่องความแตกต่างทางด้านการใช้ข่าวสาร
แนวโน้มเศรษฐกิจโลก (ต่อ) การทำงานร่วมกัน เพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน (รูปแบบการทำงานในทุกองค์กร c-Learning (Collaboration Learning Model)) การเติบโตของ Web Technology, EDI และการใช้ประโยชน์จาก Web Service ให้การทำงานแบบ Virtual
สังคมสมัยใหม่ รู้จักกับ Virtual World (สังคม Cyberspace กับนักเรียนไทยยุคปัจจุบัน)
บัณฑิตในอุดมคติไทยยุคไอซีที คิดเป็น ทำเป็น กล้าคิด กล้าทำ เรียนรู้ได้เอง นักสำรวจ แสวงหา มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ คิดเป็นระบบมีเหตุผล ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ทำงานเป็นทีม เป็นตัวของตัวเอง รู้ผิด รู้ชอบ รับผิดชอบ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรู้ความสามารถในสาขาวิชาชีพของตนเองอย่างดี
การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ที่มีผลกระทบต่อการผลิตบัณฑิต การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ที่มีผลกระทบต่อการผลิตบัณฑิต การเปลี่ยนของเศรษฐกิจและการเมืองโลก สภาพแวดล้อมใหม่และสังคมใหม่ รูปแบบมหาวิทยาลัยใหม่ กระบวนทัศน์ใหม่ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเปลี่ยนกรอบความคิด คิดใหม่ทำใหม่ การเปลี่ยนกรอบความคิด คิดใหม่ทำใหม่ Reengineering Redesign ลักษณะของการเปลี่ยนอย่างฉับพลัน การรื้อปรับระบบหากไม่ประสบผลสำเร็จจะยิ่งเป็นภัยมากยิ่งขึ้น
กระบวนทัศน์ใหม่ คิดใหม่ ทำใหม่ “กระบวนทัศน์ใหม่ คิดใหม่ ทำใหม่ คือการรีดีไซน์ (design) ใหม่ ขั้นมโหฬารเกี่ยวกับการคิดใหม่ หาวิธีใหม่สำหรับกระบวนการเรียนรู้(learning process) และกระบวนการคิดเพื่อให้ได้ผลงานที่ดีขึ้น ตรงกับความต้องการมากขึ้นปรับปรุงดัชนี ที่ใช้วัด ผลงาน (Performance) ที่สำคัญในโลกปัจจุบัน ซึ่งได้แก่ต้นทุน (cost) คุณภาพ (quality) บริการ (service) และความเร็ว (speed) โดยที่การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ ด้วยการคิดใหม่ ทำใหม่นี้ จะก่อให้เกิดผลพวงติดตามมาคือ การปฏิรูปความคิด การปฏิรูปการดำเนินการ การปฏิรูปจิตสำนึกในที่สุด”
จุดเด่นสามประการ ของการเปลี่ยนกรอบความคิด เริ่มคิดเริ่มดำเนินการจากความพึงพอใจของผู้เรียนเป็นสำคัญ จัดตั้งวิธีการเรียนการสอนใหม่ด้วยการรีดีไซน์ กระบวนการการเรียนการสอน ลดต้นทุนลงด้วยการย่น “เวลา” การเรียนการสอนเพื่อสร้างความพอใจ ให้แก่ผู้เรียน คือ ใช้เวลาเป็นอาวุธในการสร้างความแตกต่าง ที่เหนือกว่า
มีอะไรเปลี่ยนแปลงบ้าง ? ผู้เรียนมีความสำคัญสูงสุดในสมการของการเรียนรู้ เทคโนโลยีไอซีทีเพื่อการศึกษา. มีบทบาท ต่อกระบวนการของการเรียนรู้
พัฒนาการเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยี เพื่อการเรียนรู้ พลังขับเคลื่อนด้วย WWW & Internet, และ ระบบweb-based รวมถึงระบบ Learning Management Systems (LMS). ใช้ซอฟต์แวร์ภาษาคอมช่วยเขียน CAI. การใช้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ในระบบ ช่วยการเรียนการสอนเช่น Plato Based on CETIS “Learning Technology Standards: An Overview” Jan 29 2002 http://www.cetis.ac.uk/static/standards.html The phrase “learning standards” is one of the most powerful and most misunderstood aspects of the e-Learning revolution. As organizations make significant investments in digital learning content, there is a strong desire to have greater assurances, portability, and re-usability. As organizations focus on providing learners with the “just right” content and activities, there is a strong desire to have the ability to more easily store, search, index, deploy, assemble, and revise content. All of these hopes are part of the story of “learning standards”.
แต่การเรียนการสอนได้เปลี่ยนไป แบบดั้งเดิม: เรียนจากตำรา รับรู้แบบเฉื่อยเฉย ต่างคนต่างเรียน สอนไปวันๆ เนื้อหาเหมือนเดิม การเรียนใช้ทรัพยากรช่วย: เรียนแบบactive เรียนคนเดียวและทีม การสอนแบบรุกเร้าขึ้น เปลี่ยนเนื้อหาเร็ว ประยุกต์เทคโนโลยี: ใช้เครือข่าย คอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย จำลองสถานการณ์ สร้างเนื้อหาดิจิตอล เข้าถึงเครือข่ายได้ง่าย มีเครื่องมือช่วยมาก
การเปลี่ยนกรอบกระบวนทัศน์ (Paradigm shift) โรงเรียนในโมเดลแบบเดิม โครงสร้างยึดแน่นกับเวลาและสถานที่ ความเป็นห้องเรียนกับโรงเรียนไม่แยกจากกัน ใช้ตำราเป็นแหล่งความรู้หลัก มีความคาดหวังไว้ก่อนถึงผลลัพธ์ นักเรียนมีลักษณะเฉื่อยเฉย รอรับลูกเดียว ครูเล่นบทแสดงหน้าชั้นผู้เดียว นักเรียนทุกคนคาดหวังเรียนรู้จากแหล่งข้อมูลเดียวกัน โรงเรียนเหมือนโรงงานอุตสาหกรรม การประเมินผลขาดจุดมุ่งหมาย เน้นการสอบเป็นหลัก
โรงเรียนในโมเดลแบบใหม่ (ปฏิรูปการศึกษา) มีความยืดหยุ่นทั้งเวลาและสถานที่ เป็นการเรียนรู้แบบทำงานร่วมกันระหว่างครู กับนักเรียนโดยไม่จำกัดสภาพภูมิศาสตร์ นักเรียนกระตือรือร้น เรียนแบบแสวงหา Virtually และไม่จำกัดขอบเขตของข่าวสาร นักเรียนช่วยกำหนดผลลัพธ์ และการคาดหวัง ครูยืนอยู่ข้าง คอยแนะนำ ค้นหาข่าวสาร ยืดหยุ่นให้นักเรียนเรียนด้วยตนเองหรือเป็นทีม โรงเรียนเป็นประตูสู่โลกกว้าง การประเมินเป็นรายบุคคล ใช้ portfolio
การสร้างบัณฑิตยุคใหม่ การสร้างวิธีการเรียนรู้ให้สมบูรณ์ ความคิดริเริ่ม (Creative) ความคิดเป็นระบบ (Systematic) มีเหตุมีผล (Logical idea) ทำงานร่วมกันได้ (Teamwork)
ปรัชญาการเรียนรู้โดยใช้ไอซีที เรียนรู้และสนใจในขบวนการทางความคิดทาง วิทยาศาสตร์ และการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ส่งเสริมการสร้างจินตนาการ สร้างสรร พัฒนาความคิดริเริ่ม มีการทำงานเป็นระบบ มีความสามารถในการแก้ปัญหา รู้จักใช้เหตุผล มีความประทับใจ ใฝ่เรียนรู้ แสวงหาและสร้างกิจกรรมการทำงานร่วมกัน
การสร้างกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ หลักการและเหตุผล สร้างความเข้าใจร่วมกัน เข้าใจความจำเป็นพื้นฐานของการเรียนการสอน แบบใช้กิจกรรม เข้าใจแนวคิด และแนวทางในการนำไปใช้ในโรงเรียน
ปรัชญาการเรียนรู้จากกิจกรรม เรียนรู้และสนใจในขบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ส่งเสริมการสร้างจินตนาการสร้างสรรค์ พัฒนาความคิดริเริ่ม มีการทำงานเป็นระบบ มีความสามารถในการแก้ปัญหา รู้จักใช้เหตุผล มีความประทับใจ ใฝ่เรียนรู้ แสวงหาและสร้างกิจกรรมการทำงานร่วมกัน
การดำเนินกิจกรรมร่วมกับ สสวท (ตัวอย่างประสบการณ์ที่เคยดำเนินการ) หุ่นยนต์และชุดกล่องสมองกล คอมพิวเตอร์แสนสนุก อิเล็กทรอนิกส์สร้างสรรค์ ขุมปัญญาและการสร้างฐานข้อมูล วิศวกรน้อยช่างประดิษฐ์โครงงาน การนำเสนอผลงานและการใช้อินเทอร์เน็ต
ตัวอย่างกิจกรรมการสร้างหุ่นยนต์ ระบบไมโครคอนโทรลเลอร์ และการสร้างโครงงานวิทยาศาสตร์
กล่องสมองกลอุปกรณ์ช่วยสนับสนุนการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
การเรียนรู้ให้ผู้เรียนเป็นสำคัญ
ออกแบบโครงการแบบบูรณาการวิชาการ การทดลองที่เชื่อมต่อโดยใช้กล่องสมองกล
การใช้ไอซีทีช่วยสร้างบัณฑิตอุดมคติ การใช้ ICT เพื่อการเรียนการสอน การปฏิรูปการเรียนรู้ให้ได้มาก เร็ว ทุนต่ำ
(Knowledge Construction) (Learning Management) องค์ประกอบของกระบวนการเรียนรู้ องค์ความรู้ + กระบวนการเรียนรู้ + การจัดการ (Knowledge) (Learning) (Management) การสร้างความรู้ (Knowledge Construction) กระบวนการเรียนรู้ (Learning Process) การจัดการการเรียนรู้ (Learning Management)
ความรู้และการสร้างความรู้ ความรู้คืออะไร ? เราเรียกใช้ความรู้ได้อย่างไร? ปัญหาการบริหารและจัดการความรู้
โมเดลการบริหารจัดการสร้างความรู้ กฏเกณฑ์ หรือเงื่อนไข ครู ขยายการ ถ่ายทอดความรู้ ฐานความรู้ ยูสเซอร์ อินเทอร์เฟส เครื่องมือช่วย สร้างความรู้ เครื่องมือ ช่วยเรียกค้น ผู้เรียน ผู้ใช้
โครงสร้างการพัฒนาระบบ knowledge object เนื้อหาที่มี อยู่แล้ว สร้าง เครื่องมือที่ใช้พัฒนา ออกแบบ ต้องการนำมาใช้ คาตาลอก Find LMS ขนส่ง ติดตาม ขนส่ง
การสร้างฐานความรู้สารานุกรม ด้วยการเชื่อมโยง Knowledge Object
บทบาทของครูกับการบริหารจัดการสร้างความรู้ ครูต้องเปลี่ยนจากการ “สอน” มาเป็น การสร้างความรอบรู้และดูแลจัดการ กับระบบการเรียนรู้สมัยใหม่ในรูปของการใช้ไอซีที ให้มากขึ้น ครูต้องเข้าใจโมเดลต่างๆของการเรียนการสอน
กระบวนการจัดการเป็นเรื่องสำคัญ เรียนอย่างไรให้เป็นสุข จะจัดการเนื้อหาและสร้างความรู้อย่างไร ? จะจัดการเทคโนโลยีอย่างไร ? จะจัดการระบบอย่างไร ? จะจัดการพัฒนาให้เกิดขึ้นได้อย่างไร ? จะจัดการประสิทธิภาพได้อย่างไร ?
กระบวนการการเรียนการสอน การเรียนการสอนแบบดั้งเดิม สอน โมเดลนักเรียน โมเดลครู ครูถ่ายทอดความรู้ให้นักเรียนเป็นการเรียนการสอนแนวดิ่ง
กระบวนการการเรียนการสอน (ต่อ) การเรียนรู้ร่วมกัน (C-Learning) การเรียนรู้ระหว่าง เพื่อน เพื่อน พี่ น้อง ครู นักเรียน เป็นการเรียนรู้ในแนวระดับ
การจัดรูปแบบห้องเรียน หลากหลายวิธีการจัดห้องเรียน
รูปแบบการเรียนรู้ นักศึกษาเรียนด้วยตนเอง การสื่อสารสองทาง นักเรียน - นักเรียน นักเรียน - อาจารย์ etc.
การเรียนรู้ร่วมกัน เป็นการเรียนร่วมกันเป็นกลุ่ม ช่วยกันเป็นทีม มุ่งความสำเร็จร่วมกัน บทบาทของครู นักเรียน เปลี่ยนไป มี IT ช่วย
รูปแบบกระบวนการเรียนรู้มีได้มากมาย Example base ครูให้ตัวอย่างนักเรียน และอธิบายตัวอย่าง และข้อมูลประกอบตัวอย่าง Problem base ครูให้ปัญหา ให้นักเรียนคิดแก้ปัญหาและหาวิธีการต่าง ๆ เปรียบเทียบ วิธีการที่ได้วิเคราะห์สังเคราะห์ปัญหา
รูปแบบกระบวนการเรียนรู้มีได้มากมาย (ต่อ) Activity base ครูสร้างกิจกรรมให้นักเรียนทำกิจกรรม Project base ครูให้โครงงาน นักเรียนคิดและหาวิธีทำโครงงานด้วยจินตนาการ และความคิดของนักเรียน
กระบวนการเรียนรู้ในยุคไอที จัดหาสิ่งแวดล้อมที่ยืดหยุ่นให้เหมาะสมกับความสามารถและความต้องการของนักเรียนแต่ละคน ลดอัตราเสี่ยงการล้มเหลวในกระบวนการเรียนรู้ในโรงเรียน จัดหาแหล่งการเข้าถึงความรู้ให้กับนักเรียนได้อย่างทันทีทันใดตามความต้องการ โดยมีอุปกรณ์การเรียนการสอนอย่างพอเพียง
กระบวนการเรียนรู้ในยุคไอที (ต่อ) ข้อมูลข่าวสารที่ตอบสนองนักเรียนมีความทันสมัย เหมาะสมและมีความพร้อมที่จะทำให้นักเรียนเข้าใจได้ และใช้ได้ทันที พร้อมใช้งาน กระตุ้น และจูงใจให้อยากเรียนรู้ อยากแสวงหาเพิ่มขีดความสามารถของการเรียนรู้ จูงใจให้นักเรียนอยากทดลอง แสวงหาวิธีการเรียนรู้ ทำให้เกิดความคิดที่กว้างขวาง และท้าทายการคิดวิเคราะห์
กระบวนการเรียนรู้ในยุคไอที (ต่อ) ท้าทายให้ครูคิดหาวิธีการใหม่ ๆ เพื่อเสริมกระบวนการเรียนรู้ของนักเรียนตลอดไป ช่วยนักเรียนทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้อย่างมีความสุขและสนุกสนาน มีเสียงหัวเราะและบรรยากาศ ช่วยให้เกิดบรรยากาศการทำงานเป็นทีมและเรียนรู้ร่วมกัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและความคิดระหว่างกัน
การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ในการสร้างบรรยากาศและการจูงใจให้นักเรียนได้เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ สร้างองค์ความรู้จาก primitive knowledge สู่ องค์ความรู้ใหม่อื่น เข้าใจกระบวนการสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยกระบวนการ construction คิดปัญหานามธรรมให้เป็นแบบเชิงวัตถุ
การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ (ต่อ) แข่งขันและท้าทาย ให้ความสมดุลของการ discovery learning, exploration, systematic teaching และ guidance ให้แรงจูงใจระหว่างนักเรียน เพื่อตอบสนองความต้องการที่แตกต่างกัน ทั้งความสามารถและความสนใจ
การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ (ต่อ) สร้างกิจกรรมที่สมดุลระหว่าง knowledge และ skill Cooperative learning activities กระตุ้นให้นักเรียนได้ใช้ความสามารถ สามัญนึกคิดของตนเองอย่างเต็มที่
การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้(ต่อ) สร้างกลไกช่วยให้นักเรียนดำเนินการเรียนรู้ไปในแนวทางที่ชี้นำได้ ให้มีการแสดงความสามารถเชิง skill ได้เต็มที่ เปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนความคิดได้อย่างเต็มที่
สรุปความสำคัญของการสร้างบัณทิตอุดมคติ สร้างกระบวนการเรียนรู้ สร้างรูปธรรมของวิธีการการสร้างกระบวนการทางความคิด เปิดโอกาสในเรื่องการเรียนการสอนแบบ บูรณาการทางการศึกษา สร้างความท้าทายและความกระตือรือร้นทางความคิด
เราจะยังช้าอยู่อีกไม่ได้แล้ว อนาคต >>> จะสร้างสังคมใหม่ที่เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และเข้าใจ world knowledge ให้มากขึ้น การสร้างแนวคิดของการเรียนแบบ “ป้อนให้” ซึ่งเป็นแบบเดิมจะเปลี่ยนเป็นแบบ “แสวงหา” ได้อย่างไร เราจะยังช้าอยู่อีกไม่ได้แล้ว
การจัดการความรอบรู้ & เครื่องมือทำงานร่วมกัน อนาคต >>> การจัดการความรอบรู้ & เครื่องมือทำงานร่วมกัน Messaging, Scheduling Document Sharing Project Timeline Data Repositories Enterprise Portal
สวัสดี