อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
Advertisements

การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
(Classroom Action Research)
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
วัดตัวแปร(ตาม)การวิจัยในชั้นเรียน
การเขียนผลงานวิชาการ
ทักษะการคิดขั้นสูงของบลูม (Bloom’s Taxonomy)
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การจัดกิจกรรม สำหรับพ่อแม่เด็กอายุ 0 – 5 ปี
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
Thesis รุ่น 1.
ระดับขั้นจุดประสงค์การเรียนรู้ของ Bloom
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
บทที่ 1 ทักษะกระบวนการ และโครงงานทางวิทยาศาสตร์
เทคนิควิธีในการประเมินบุคลากร
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
หลักการจัดการเรียนการสอน
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
เรื่อง การวางแผนประเมินโครงการ
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. จักรกฤษณ์ สำราญใจ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
การเขียนรายงานการวิจัย
การออกแบบการวิจัย (Research Design)
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
วัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การวัดผล (Measurement)
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
ประเภท ระดับ และพฤติกรรมการเรียนรู้
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
บทบาทสมมติ (Role Playing)
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
การวัดทางด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
การพัฒนาตนเอง.
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
การจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
การประเมินผลการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 นายธีรพัฒน์ ง๊ะสมัน 30 มีนาคม – 3 เมษายน 2552 ณ เทศบาลเมืองสตูล

By : Theeraphat Ngasaman Tessabal 2 Satun Bloom’s Taxonomy By : Theeraphat Ngasaman Tessabal 2 Satun

พฤติกรรมการเรียนรู้ พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย (Cognitive domain) พฤติกรรมด้านจิตพิสัย (Affective domain) พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย (Psychomotor domain)

พฤติกรรมการรับรู้ด้านพุทธิพิสัย 6 ระดับ ความรู้ความจำ (Knowledge) ความเข้าใจ (Comprehension) การนำไปใช้ (Application) การวิเคราะห์ (Analysis) การสังเคราะห์ (Synthesis) การประเมินค่า (Evaluation)

คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ Cognitive Domain ระดับ ความหมาย คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ ความรู้ (Knowledge) ความสามารถในการจำความรู้ต่าง ๆ ที่ได้เรียนรู้มา นิยาม, จับคู่, เลือก, จำแนก, บอกคุณลักษณะ, บอกชื่อ, ให้แสดงรายชื่อ, บอกความสัมพันธ์, ฯลฯ ความเข้าใจ (Comprehension) ความสามารถในการแปลความ ขยายความ และเข้าใจในสิ่งที่ได้เรียนรู้มา แปลความหมาย, เปลี่ยนแปลงใหม่, แสดง, ยกตัวอย่าง, อธิบาย, อ้างอิง, แปลความหมาย, สรุป, บอก, รายงาน, บรรยาย, กำหนดขอบเขต, ฯลฯ การนำไปใช้ (Application) ความสามารถในการใช้สิ่งที่ได้เรียนรู้มาเป็นวัตถุดิบก่อให้เกิดสิ่งใหม่ ประยุกต์ใช้, จัดกระทำใหม่, แก้ปัญหา, จัดกลุ่ม, นำไปใช้, เลือก, ทำโครงร่าง, ฝึกหัด, คำนวณ, ฯลฯ

คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ Cognitive Domain ระดับ ความหมาย คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ การวิเคราะห์ (Analysis) ความสามารถในการแยกความรู้ออกเป็นส่วนแล้วทำความเข้าใจในแต่ละส่วนว่าสัมพันธ์คือแตกต่างกันอย่างไร จำแนก, จัดกลุ่ม, เปรียบเทียบ, สรุปย่อ, บอกความแตกต่าง, อธิบาย, วิเคราะห์, แยกส่วน, ทดสอบ, สำรวจ, ตั้งคำถาม, ตรวจสอบ, อภิปราย, ฯลฯ การสังเคราะห์ (Synthesis) ความสามารถในการรวมความรู้ต่าง ๆ หรือประสบการณ์ต่าง ๆ ให้เกิดเป็นสิ่งแปลกใหม่ การออกแบบ, วางแผน, การแก้ปัญหา, การผลิต, การสร้างสูตร, ฯลฯ การประเมินค่า (Evaluation) ความสามารถในการตัดสินคุณค่าอย่างมีเหตุมีผล ตั้งราคา, ตัดสินคุณค่า, พิจารณา, สรุป, ประเมิน, ให้น้ำหนัก, กำหนดเกณฑ์, การเปรียบเทียบ, แก้ไข, ปรับปรุง, ให้คะแนน

คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ Affective Domain ระดับ ความหมาย คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ การรับรู้ (Receive) มีความตั้งใจสนใจในสิ่งเร้า การยอมรับ, เลือก, ถาม, ฟัง, ตั้งใจ, ฯลฯ การตอบสนอง (Respond) การมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่จัดขึ้น การส่งเสริม, การบอก, สนับสนุน, อาสาสมัคร, เล่าเรื่อง, ช่วยเหลือ ฯลฯ เห็นคุณค่า (Value) เห็นคุณค่าในสิ่งที่กระทำ รู้สึกซาบซึ้งยินดีและมีเจตคติที่ดีต่อสิ่งนั้น เลือก, แบ่งปัน, สนับสนุน, เห็นคุณค่า, ซาบซึ้ง, ร่วมสนุก, ฯลฯ

คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ Affective Domain ระดับ ความหมาย คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ การจัดระบบ (Organize) การเห็นความแตกต่างในคุณค่า, การแก้ไขความขัดแย้งของสิ่งที่เกิดขึ้นกับสิ่งที่อยู่ภายใน, การสร้างปรัชญาหรือเป้าหมายให้กับตนเอง การป้องกัน, สรุปความ, ความสัมพันธ์, เรียงอันดับ, ทำให้เป็นระบบ ฯลฯ บุคลิกภาพ (Characterize) การทำให้เป็นคุณลักษณะหนึ่งของชีวิต การจำแนก, การประพฤติตน, ความสมบูรณ์, การปฎิบัติ, การตรวจสอบ ฯลฯ

คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ Psychomotor Domain ระดับ ความหมาย คำกริยาที่บ่งบอกถึงการกระทำ การเลียนแบบ (Imitation) สามารถที่จะสังเกตและทำตาม การดู, การทำตาม, ฯลฯ การลงมือปฏิบัติ (Manipulation) เน้นทักษะที่สามารถทำได้ การจัดกระทำ, การปฏิบัติ ฯลฯ ความถูกต้อง (Precision) เน้นความถูกต้องในการแสดงพฤติกรรมและควบคุมและลดความผิดพลาด การปฏิบัติ, ทักษะที่ถูกต้อง, ฯลฯ ความชัดเจนในการปฏิบัติ (Articulation) เน้นถึงการเรียนรู้วิธีการถูกต้องตามขั้นตอนที่มี การปฏิบัติตามขั้นตอนที่ถูกต้อง ฯลฯ ความเป็นธรรมชาติ (Naturalization) การแสดงพฤติกรรมเป็นประจำ เป็นอัตโนมัติ จนกลายเป็นธรรมชาติ การปฏิบัติจนเป็นนิสัย, การทำให้เป็นลักษณะนิสัยส่วนตัว

WORD

คำกริยาที่บ่งบอกถึงความรู้ นิยาม, จับคู่, เลือก, จำแนก, บอกคุณลักษณะ, บอกชื่อ, ให้แสดงรายชื่อ, บอกความสัมพันธ์, บรรยาย, แบ่งประเภท, วางโครงร่าง, ยกตัวอย่าง, แยกความคิดเห็นจากความจริง, ทำรายการ, หาที่ตั้ง, รู้จัก, บ่งชี้, ระลึกได้

คำกริยาที่บ่งบอกถึงความเข้าใจ แปลความหมาย, เปลี่ยนแปลงใหม่, แสดง, ยกตัวอย่าง, อธิบาย, อ้างอิง, สรุป, บอก, รายงาน, บรรยาย, กำหนดขอบเขต, บอกความแตกต่าง, สาธิต, นึกภาพ, กล่าวย้ำ, ย่อความ, ตีความ, เปรียบเทียบ

คำกริยาที่บ่งบอกถึงการนำไปใช้ ประยุกต์ใช้, จัดกระทำใหม่, แก้ปัญหา, จัดกลุ่ม, นำไปใช้, เลือก, ทำโครงร่าง, ฝึกหัด, คำนวณ, แสดงวิธีทำ, แบ่งประเภท, ปรับแต่ง

คำกริยาที่บ่งบอกถึงการคิดวิเคราะห์ จำแนก, จัดกลุ่ม, เปรียบเทียบ, สรุปย่อ, บอกความแตกต่าง, อธิบาย, วิเคราะห์, แยกส่วน, ทดสอบ, สำรวจ, ตั้งคำถาม, ตรวจสอบ, อภิปราย, จัดระเบียบ, ลงความเห็น, ทำแผนภูมิ, วางโครงร่าง

คำกริยาที่บ่งบอกถึงการสังเคราะห์ การออกแบบ, วางแผน, การแก้ปัญหา, การผลิต, การสร้างสูตร, ตั้งสมมุติฐาน, สนับสนุน, เขียนใหม่, รายงาน, รวบรวม, จัดระเบียบ, จัดใหม่, สร้างขึ้นใหม่

คำกริยาที่บ่งบอกถึงการประเมินค่า ตั้งราคา, ตัดสินคุณค่า, พิจารณา, สรุป, ประเมิน, ให้น้ำหนัก, กำหนดเกณฑ์, การเปรียบเทียบ, แก้ไข, ปรับปรุง, ให้คะแนน, วิจารณ์, แสดงเหตุผล, อภิปราย, เลือก, ประเมินความสำเร็จวัดผล

KPA K – KNOWLEDGE ความรู้ P – PERFORMANCE การปฏิบัติ (S-SKILLS ทักษะ) A - ATTRIBUTES คุณลักษณะ ATTITUDE เจตคติ

พฤติกรรมการเรียนรู้ พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย (Cognitive domain) K พฤติกรรมด้านจิตพิสัย (Affective domain) A พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย (Psychomotor domain) P

สวัสดี