The ASSURE Model การใช้สื่อการสอนอย่างเป็นระบบ โดยใช้แบบจำลอง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประเมินผลสถานศึกษา
Advertisements

บทเรียนคอมพิวเตอร์แบบมัลติมีเดีย
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การจัดกิจกรรม สำหรับพ่อแม่เด็กอายุ 0 – 5 ปี
การศึกษารายกรณี.
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การสร้างสื่อด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ADDIE model หลักการออกแบบของ
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE MODAL
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้ชุดมินิคอร์ส
หลักการพัฒนา หลักสูตร
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การวางแผนและการดำเนินงาน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทเกม (Game).
การติดตาม และประเมินโครงการ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ “เกม” (Game)
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
สื่อการเรียนการสอน.
“Backward” Unit Design?
จุดมุ่งหมายการศึกษา และพฤติกรรมการศึกษา
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
ระบบการสอนของดิคและคาเรย์
ระบบการสอนของดิคและคาเรย์
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
หลักการแก้ปัญหา.
ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2557 ณ ภูเขางาม รีสอร์ท จ.นครนายก
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
นางสาวดลลดา สังฆสุวรรณ โรงเรียนสงวนหญิง จ.สุพรรณบุรี
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
ADDIE Model.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
วิธีสอนแบบอุปนัย.
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
สรุปวิธีสอนที่ใช้ในการฝึกอบรม
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
หลักการออกแบบของ ADDIE model มีขั้นตอนดังนี้. 1
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

The ASSURE Model การใช้สื่อการสอนอย่างเป็นระบบ โดยใช้แบบจำลอง

The ASSURE Model ในการใช้สื่อการสอนนั้น ผู้สอนควรจะมีการวางแผนการใช้สื่ออย่างรัดกุม และเป็นระบบ ทั้งนี้เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการปฎิบัติ ซึ่งจะทำให้ผู้สอนเกิดความมั่นใจในการใช้สื่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้สูงสุด ตามความสามารถของแต่ละบุคคล และตรงตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่วางไว้

The ASSURE Model คืออะไร? สรุป อ้างอิง

The ASSURE Model คืออะไร? ASSURE Model เป็นรูปแบบของการวางแผนหรือออกแบบการสอนโดยเน้นการใช้สื่อ และเทคโนโลยีเป็นองค์ประกอบ และเน้นการมีส่วนร่วมของผู้เรียนเป็นสำคัญผู้คิดค้นASSURE คือ ไฮนิคและคณะ (Heinich, and Others 1999) มีระบบการดำเนินงานตามลำดับขั้นดังนี้

The ASSURE Model

การวิเคราะห์ลักษณะผู้เรียน The ASSURE Model A = ANALYZE LEARNER'S การวิเคราะห์ลักษณะผู้เรียน การวิเคราะห์ผู้เรียน ที่สำคัญได้แก่ การวิเคราะห์พฤติกรรมเบื้องต้นและความต้องการของผู้เรียน ทั้งในด้าน 1. ข้อมูลทั่วไป เช่น อายุ เพศ ระดับการศึกษา เจตคติ ระบบสังคม วัฒนธรรม

การวิเคราะห์ลักษณะผู้เรียน The ASSURE Model A = ANALYZE LEARNER'S การวิเคราะห์ลักษณะผู้เรียน 2. ข้อมูลเฉพาะ ซึ่งเป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเรียนการสอน เช่น ประสบการณ์เดิม ทักษะ เจตคติ ความรู้พื้นฐาน และความสามารถในบทเรียนนั้นเพียงใด การวิเคราะห์จะช่วยให้ผู้สอน สามารถตัดสินใจเลือกสื่อและจุดมุ่งหมายการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม

S = STATE LEARNING OBJECTIVES AND CONTENT การกำหนดจุดมุ่งหมาย The ASSURE Model S = STATE LEARNING OBJECTIVES AND CONTENT การกำหนดจุดมุ่งหมาย จุดมุ่งหมายการเรียนที่ดี ควรเป็นข้อความที่แสดงลักษณะ สำคัญ 3 ประการคือ 1. วิธีการปฏิบัติ PERFORMANCE (ทำอะไร) การเขียนจุดมุ่งหมายควรใช้คำกริยาหรือข้อความที่สังเกตพฤติกรรมได้ เช่น ให้คำจำกัดความ อธิบาย บอก หรือจำแนก เป็นต้น 2. เงื่อนไข CONDITIONS (ทำอย่างไร) การเขียนจุดมุ่งหมายการเรียน ควรกำหนดเงื่อนไขที่จำเป็นภายใต้การปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ การกำหนดเงื่อนไข เช่น บวกเลขในใจโดยไม่ใช้กระดาษวาด หรือ ผสมแป้งโดยใช้ช้อน เป็นต้น

S = STATE LEARNING OBJECTIVES AND CONTENT การกำหนดจุดมุ่งหมาย The ASSURE Model S = STATE LEARNING OBJECTIVES AND CONTENT การกำหนดจุดมุ่งหมาย 3. เกณฑ์ CRITERIA (ทำได้ดีเพียงไร) มาตรฐานการปฏิบัติซึ่งควรตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริง เช่นระดับของความสามารถในการปฏิบัติ ระดับของความรู้ที่จำเป็น เพื่อการศึกษาต่อในหน่วยการเรียนที่สูงขึ้นไป

The ASSURE Model S = SELECT, MODIFY OR DESIGN MOTHODS AND MATERIALS การเลือก ดัดแปลงหรือออกแบบสื่อใหม่ การกำหนดสื่อการเรียนการสอน อาจดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งใน 3 ประการดังนี้ คือ 1) การเลือกใช้สื่อการเรียนการสอน 2) ดัดแปลงจากสื่อวัสดุที่มีอยู่แล้ว 3) การออกแบบสื่อใหม่

U = UTILIZE METHODS AND MATERIALS การใช้สื่อ The ASSURE Model U = UTILIZE METHODS AND MATERIALS การใช้สื่อ กิจกรรมการใช้สื่อการเรียนการสอน พิจารณาได้ 3 ลักษณะคือ 1) การใช้สื่อประกอบการสอนของผู้สอน เช่น ประกอบคำบรรยาย และอธิบาย 2) การใช้สื่อเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนของผู้เรียน เช่น ชุดการสอน บทเรียนด้วยตนเอง

U = UTILIZE METHODS AND MATERIALS การใช้สื่อ The ASSURE Model U = UTILIZE METHODS AND MATERIALS การใช้สื่อ 3) การใช้สื่อร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน เช่น เกม สถานการณ์จำลอง และการสาธิต การมีส่วนร่วมของผู้เรียน การใช้สื่อการเรียนการสอนควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมี ส่วนร่วมหรือได้ลงมือกระทำร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนได้มากที่สุด

R = REQUIRE LEARNER'S RESPONSE การมีส่วนร่วมของผู้เรียน The ASSURE Model R = REQUIRE LEARNER'S RESPONSE การมีส่วนร่วมของผู้เรียน การกำหนดพฤติกรรมตอบสนองของผู้เรียน การเรียนรู้จะเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพที่สุดนั้น ผู้เรียนจะต้องมีปฏิกิริยาตอบสนองและมีการเสริมแรง สำหรับการพฤติกรรมการตอบสนองที่ถูกต้องอยู่เสมอ เช่น การให้สังเกตไปจนถึงการให้ทำโครงการหรือออกแบบสิ่งของต่าง ๆ การที่ผู้สอนให้ข้อมูลย้อนกลับทันทีต่อการตอบสนองของผู้เรียน จะทำให้แรงจูงใจในการเรียนและการเสริมแรงมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

E = EVALUATIONการประเมินผล The ASSURE Model E = EVALUATIONการประเมินผล การประเมินผล ควรพิจารณาทั้ง 3 ด้านคือ 1) การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2) การประเมินสื่อและวิธีใช้ 3) การประเมินกระบวนการเรียนการสอน

The ASSURE Model สรุป จากรูปแบบจำลอง The ASSURE model จะเน้นถึงการวางแผนการใช้สื่ออย่างเป็นระบบในสภาพของห้องเรียนจริง เพื่อให้ผู้สอนสามารถนำรูปแบบจำลองนี้ มาใช้วางแผนการสอนได้อย่างมีประสิทธิผล ถ้าหากผู้สอนสามารถดำเนินการได้ตามกระบวนการได้ถูกต้องทุกขั้นตอนจะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี

The ASSURE Model อ้างอิง Kanokphan Kanthachan(2554).The ASSURE Model การใช้สื่อการสอนอย่างเป็นระบบ โดยใช้แบบจำลอง.ค้นเมื่อ 3 สิงหาคม 2556 .จากhttp://52040337kanokphan.blogspot.com/2011/10/assure-model-assure-model-heinich.html ไพรวัลย์ วันทนา(2552).รูปแบบการสอนโดยใช้รูปแบบจำลอง ASSURE.ค้นเมื่อ 3 สิงหาคม 2556 .จากhttp://blog.wanthanaa.net/2009/03/assure-model.html กนกวรรณ ประยูรทรัพย์ (2553). The ASSURE Model: รูปแบบการสอนเน้นการใช้สื่อและมีส่วนร่วม.ค้นเมื่อ 3 สิงหาคม 2556 .จากhttp://www.learners.in.th/blogs/posts/363715 แผนการเรียนรู้ ASSURE MODEL(2555). ค้นเมื่อ 3 สิงหาคม 2556 .จากhttp://ml12345a.blogspot.com/2012/09/assure-model.html

The ASSURE Model จัดทำโดย นางสาวกลชนก กาวี 531120317 โปรแกรมวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะครุศาสตร์