ระบบสุริยะ จักรวาล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จัดทำโดย ด.ญ. ณัชชา เตชะสุขะโต ม. 2/1 เลขที่ 31 ระบบสุริยะ
Advertisements

เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
ความสว่างและอันดับความสว่างของดาวฤกษ์
บรรยากาศ.
เรื่อง นาฬิกา นาฬิกาข้อมือ นาฬิกาแขวน นาฬิกาปลุก นาฬิกาจับเวลา
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
(Structure of the Earth)
การขนส่งและการโคจรของดาวเทียม
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
ระบบที่จะเกิดขึ้นใหม่ทางช้างเผือกคือ
ภาพดวงดาวและกาแล็กซี่
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
นิยามดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์ (Planet) หมายถึงเทห์วัตถุที่มีสมบัติ ดังต่อไปนี้ครบถ้วน (ก) โคจรรอบดวงอาทิตย์ (ข) มีมวลมากพอที่แรงโน้มถ่วงของดาว.
ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf planet)
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
ระบบสุริยะ (Solar System).
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
ดวงอาทิตย์ The Sun.
Clouds & Radiation.
วิชาประวัติศาสตร์ไทย 1 รหัสวิชา ส30108
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
หมอก  หมอก (Fog) หมายถึงเมฆที่เกิดใกล้พื้นดิน หรือหมายถึง ไอน้ำซึ่งได้กลั่นตัวจนเป็นเม็ดละอองน้ำที่เห็นได้ด้วยตา เล็กละเอียดและเบาล่องลอยอยู่ในอากาศ การเกิดหมอก.
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
คำชี้แจง สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
โจฮานเนส เคปเลอร์ (Johannes Kepler) ค.ศ
กลไกการปรับสมดุลโลก แผ่นที่ 1/6 พื้นสีเข้มดูดกลืน รังสีได้ดีกว่า.
เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5
การอ่านแผนที่ดาว นักเรียนเคยอ่านแผนที่ดาวหรือไม่ การอ่านแผนที่ดาวแตกต่างจากการอ่านแผนที่อื่น ๆ เพราะจะต้องนอนหงายหรือเงยหน้าอ่าน โดยยกแผนที่ดาวขึ้นสูงเหนือศีรษะ.
วิชา วิทยาศาสตร์ เลือกเสรี สื่อประสม จัดทำโดย
กาแล็กซีและเอกภพ.
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
กล้องโทรทรรศน์.
เทคนิคการถ่ายภาพ.
โลก (Earth).
ยูเรนัส (Uranus).
ดวงจันทร์ (Moon).
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
เรื่อง ธงประเทศต่างๆ ธงชาติไทย ธงชาติเวียดนาม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
วิทยาศาสตร์ Next.
ดาวเสาร์ (Saturn).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
โจฮานเนส เคปเลอร์ (Johannes Kepler) กฏข้อที่ 1: ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี โดยมี ดวงอาทิตย์อยู่ที่โฟกัสจุดหนึ่ง กฏข้อที่ 2: เส้นตรงที่โยงระหว่างดาวเคราะห์กับดวงอาทิตย์
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
โลกและสัณฐานของโลก.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบสุริยะ จักรวาล

ดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์ (sun) ดวงอาทิตย์เป็นส่วนสำคัญที่สุดของระบบสุริยะ  เป็นผู้ ดึงดูดให้ดาวเคราะห์ทั้งเก้าดวงอยู่ในตำแหน่งที่เป็นอยู่และดวงอาทิตย์ยังให้แสง และความร้อนกับดาวเคราะห์นั้น  

ดาวพุธ ดาวพุธ (mercurs) เป็นดาวเคราะห์ อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดดังนั้นดาวพุธ จึงร้อนจัดในเวลากลางวันและเย็นจัดใน เวลากลางคืนดาวพุธเป็นดาวเคราะห์ ดวงเล็กโตกว่าดวงจันทร์ของเราเพียงเล็กน้อย

ดาวศุกร์ ดาวศุกร์ (venus)  ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะห์ที่ร้อนที่สุดในระบบสุริยะ บน ดาวศุกร์ร้อนถึง 480 องศาเซลเซียส ความร้อนขนาดนี้มากจนทำให้ของทุกอย่าง ลุกแดงดาวศุกร์มีไอหมอกของกรดกำมะถันปกคลุมอย่างหนาแน่น

โลก โลก (earth)  โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์เป็นวงโคจรซึ่งใช้เวลา 365.25 วัน  เพื่อให้ครบ 1 รอบ ปฏิทินแต่ละปีมี 365 วัน ซึ่งหมายความว่าจะมี 1/4 ของวันที่เหลือในแต่ละปี ซึ่งทุกๆปีสี่ปีจะมีวันพิเศษ คือจะมี 366 วัน กล่าวคือ เดือนกุมภาพันธ์จะมี 29 วัน แทนที่จะมี 28 วันเหมือนปกติ ตามที่เคปเลอร์ ค้นพบวงโคจรของโลกไม่เป็นวงกลม

ดาวอังคาร ดาวอังคาร (mars)   ดาวอังคารบางทีก็เรียกกันว่าดาวแดงเพราะผิวพื้นเป็น หินสีแดง หินบนดาวอังคารที่มีสีแดงก็เพราะเกิดสนิมท้องฟ้าของดาวดังคารเป็น สีชมพูเพราะฝุ่นจากหินแดงที่ว่านี้   ผิวของดาวอังคารเหมือนกับทะเลหินแดง มี ก้องหินใหญ่และหลุมลึก ภูเขาสูง หุบ เหว และเนินมากมาย

ดาวพฤหัสบดี ดาวพฤหัสบดี (jupiter) ดาวพฤหัสบดีเป็นดาวเคราะห์ยักษ์ เพราะมีขนาด ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะ มีเส้นผ่านศูนย์กลางยาวกว่าโลก 11.2 เท่า นอกจากนี้ ยังได้ชื่อว่าเป็นดาวเคราะห์ก๊าซ เพราะมีองค์ประกอบเป็นก๊าซไฮโดรเจนและ ฮีเลียมคล้ายในดวงอาทิตย์

ดาวเสาร์ ดาวเสาร์ (saturn)    ดาวเสาร์เป็นดาวเคราะห์ที่มีความสวยงาม จากวง แหวนที่ล้อมรอบ เมื่อดูในกล้องโทรทรรศน์จะเห็นวงแหวน ซึ่งทำให้ดาวเสาร์มี ลักษณะแปลกกว่าดาวดวงอื่นๆ ดาวเสาร์มีองค์ประกอบคล้ายดาวพฤหัสบดี เป็นดาวเคราะห์ก๊าซที่มีลมพายุพัดแรงความเร็วถึง 1,125 ไมล์ต่อชั่วโมง

ดาวยูเรนัส ดาวยูเรนัส (uranus) ดาวเคราะห์ชั้นนอกดวงต่อไปถัดจากดาวเสาร์ได้แก่ ดาวยูเรนัส ดาวยูเรนัสเป็นดาวเคราะห์ที่ใหญ่เป็นที่สามในระบบสุริยะ มันมี ลักษณะ เลือนรางจะต้องมองดูด้วยกล้องโทรทัศน์เท่านั้นจึงสามารถมองเห็น เราเคยคิดว่ามันเป็นดาวฤกษ์ ในปี 1781 William Herschel ได้ใช้ กล้องโทรทัศน์ค้นพบว่า ดาวยูเรนัสเป็นดาวเคราะห์ เขาเห็นแผ่นกลมสีเขียวที่ไม่ มีรอย

ดาวเนปจูน ดาวเนปจูน (neptune)   เมื่อดาวยูเรนัสถูกค้นพบ คนได้วันเส้นทางของ มันผ่านอวกาศ การหมุนรอบของดาวยูเรนัสมีลักษณะผิดปกติบางคนคิดว่า จะต้องมีดาวเคราะห์ดวงใหญ่อีกดวงหนึ่ง ดาวเคราะห์ที่ไม่เป็นที่รู้จักอาจอยู่ถัด จากดาวยูเรนัส แรงโน้มถ่วงของมันอาจจะดึงไปที่ดาวยูเรนัสจึงทำให้การหมุน ของมันเปลี่ยนแปลง ในปี 1845

ดาวพลูโต ดาวพลูโต (pluto)  เมื่อมีการค้นพบดาวเนปจูน ได้ประมาณขนาดและการ หมุนรอบของมัน แต่ผลที่ออกมาไม่ได้เป็นไปตามที่คาดคิด ผลที่ได้ไม่สามารถ อธิบายการหมุนที่ผิดปกติของดาวยูเรนัส บางทีอาจมีดาวเคราะห์อีกดวงที่อยู่ถัด จากดาวเนปจูน บางทีอาจเป็นแรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์ดวงนี้ดึงดูดดาว ยูเรนัส

ขอขอบคุณ

เรื่อง สุริยะ จักรวาล จัดทำโดย. ด. ญ เรื่อง สุริยะ จักรวาล จัดทำโดย... ด.ญ. วรรณุภา การเพียร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/5 เลขที่ 11

บรรณานุกรม http://www.thaigoodview.com/library/teachers how/phitsanulok/suwicha_p/pluto.html