ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
Advertisements

จัดทำโดย ด.ญ. ณัชชา เตชะสุขะโต ม. 2/1 เลขที่ 31 ระบบสุริยะ
เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
ความสว่างและอันดับความสว่างของดาวฤกษ์
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
สมบัติของสารและการจำแนก
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
(Structure of the Earth)
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
ระบบที่จะเกิดขึ้นใหม่ทางช้างเผือกคือ
ภาพดวงดาวและกาแล็กซี่
วิชา วิทยาศาสตร์ พื้นฐาน 6 แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
ดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก เวลา น. ไปตกยังทิศตะวันตก เวลา 18
นิยามดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์ (Planet) หมายถึงเทห์วัตถุที่มีสมบัติ ดังต่อไปนี้ครบถ้วน (ก) โคจรรอบดวงอาทิตย์ (ข) มีมวลมากพอที่แรงโน้มถ่วงของดาว.
ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf planet)
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
ระบบสุริยะ (Solar System).
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
ดวงอาทิตย์ The Sun.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
สภาพท้องฟ้า หลักปฏิบัติในการตรวจอากาศ
ระบบอนุภาค.
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน “ระบบซึ่งเป็นผลรวมของกาแล็กซีทั้งหมด”
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
เทห์วัตถุในระบบสุริยะ
วิวัฒนาการ วิวัฒนาการของมนุษย์....
กาแล็กซีและเอกภพ.
สภาพทางสังคม และ วัฒนธรรม ของทวีปยุโรป
งานเครื่องยนต์ แก๊สโซลีน
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
วิทยาศาสตร์ ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
ปริศนาคำทายวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 5 จักรวาลและอวกาศ
ยูเรนัส (Uranus).
ดวงจันทร์ (Moon).
ครูศรีไพร แตงอ่อน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
พื้นที่ผิวและปริมาตรทรงกลม
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
วิทยาศาสตร์ Next.
ดาวเสาร์ (Saturn).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ สถานีอุตุนิยมวิทยาตาก
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
ครูอำพรรณ ทรัพย์ประชา : ตากพิทยาคม
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ระบบสุริยะ จักรวาล.
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง น้ำแข็งขั้วโลกละลาย
โลกและสัณฐานของโลก.
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
กาแล็กซี่.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว 42102) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง อธิบายเกี่ยวกับกำเนิดเอกภพ และกาแล็กซีได้ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ทฤษฎีการเกิดของเอกภพ กำเนิดเอกภพ ทฤษฎีการเกิดของเอกภพ 1. ทฤษฎีการระเบิดครั้งใหญ่ 2. ทฤษฎีการออสซิลเวลของเอกภพ3. ทฤษฎีสภาวะคงที่ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ครู ศรีไพร แตงอ่อน

- อุณหภูมิพื้นหลังของอวกาศ - การขยายตัวของเอกภพ - อุณหภูมิพื้นหลังของอวกาศ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

(Edwin Powell Hubble) พ.ศ. 2432 - 2496 เอ็ดวิน พี. ฮับเบิล (Edwin Powell Hubble) พ.ศ. 2432 - 2496 ครู ศรีไพร แตงอ่อน

กาแล็กซีจะเคลื่อนที่ไกลออกไปด้วยความเร็วเพิ่มขึ้นตามระยะห่าง เอ็ดวิน พี. ฮับเบิล กาแล็กซีจะเคลื่อนที่ไกลออกไปด้วยความเร็วเพิ่มขึ้นตามระยะห่าง ครู ศรีไพร แตงอ่อน

กาแล็กซีไกลเคลื่อนที่เร็วกว่ากาแล็กซีที่ใกล้ เอ็ดวิน พี. ฮับเบิล กาแล็กซีไกลเคลื่อนที่เร็วกว่ากาแล็กซีที่ใกล้ “เอกภพกำลังขยายตัว” ครู ศรีไพร แตงอ่อน

อุณหภูมิพื้นหลังของอวกาศ คืออุณหภูมิของเอกภพในปัจจุบัน ลดเหลือ 2.73 เคลวิน ครู ศรีไพร แตงอ่อน

อุณหภูมิพื้นหลังของอวกาศ ค้นพบโดย อาร์โน เพนเซียส และ โรเบิร์ต วิลสัน ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ครู ศรีไพร แตงอ่อน

คืออาณาจักรหรือระบบของดาวฤกษ์นับแสนล้านดวง กาแล็คซี(Galaxy) คืออาณาจักรหรือระบบของดาวฤกษ์นับแสนล้านดวง ครู ศรีไพร แตงอ่อน

กาแล็คซี(Galaxy) ดาวฤกษ์ในกาแล็กซีอยู่รวมกันด้วยแรงโน้มถ่วงระหว่างดวงดาวกับหลุมดำที่มีมวลสารมหาศาล ซึ่งอยู่ ณ ศูนย์กลางของกาแล็กซี ครู ศรีไพร แตงอ่อน

เนบิวลาซึ่งเป็นกลุ่มแก๊สและ กาแล็คซี(Galaxy) เนบิวลาซึ่งเป็นกลุ่มแก๊สและ ฝุ่นละอองเกาะกลุ่มอยู่ระหว่างที่ว่างของดาวฤกษ์ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

กาแล็คซี(Galaxy) หลุมดำ คือ บริเวณในอวกาศที่มีแรงโน้มถ่วงสูง ไม่มีอะไรออกมาจากบริเวณนี้ได้ แม้แต่แสง หลุมดำจึงมืด ครู ศรีไพร แตงอ่อน

กาแล็คซี(Galaxy) กาแล็กซีไม่ได้กระจายอยู่อย่างสม่ำเสมอในเอกภพ แต่ส่วนใหญ่จะแผ่นเป็นแผ่นกว้างหรือเรียงเป็นสายหรือเป็นกลุ่ม ๆ แต่ละกลุ่มก่อกำเนิดดาวฤกษ์จำนวนมาก ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ทฤษฎีของนักดาราศาสตร์ กล่าวว่า จุดกำเนิดกาแล็กซี ทฤษฎีของนักดาราศาสตร์ กล่าวว่า กลุ่มแก๊สไฮโดรเจนและฮีเลียมที่ถูกเหวี่ยงออกจาก Big Bang รวมกันด้วยแรงดึงดูดระหว่างละอองแก๊ส ครู ศรีไพร แตงอ่อน

จุดกำเนิดกาแล็กซี การรวมตัวกันของกลุ่มแก๊สทำให้เกิดดวงดาวดวงแรก แก๊สและฝุ่นละอองที่เหลือจะแผ่ปกคลุมรอบ ๆ เป็นแขนออกจากใจกลางกาแล็กซี ครู ศรีไพร แตงอ่อน

กลุ่มกาแล็กซี(Cluster of Galaxy) กาแล็กซีจะรวมกลุ่มกัน แต่ละกลุ่มมีกาแล็กซีไม่เทากัน กาแล็กซีที่สว่างที่สุดในกลุ่ม เป็น “เทียนมาตรฐาน” ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ทางช้างเผือก เป็นแถบฝ้าขาวจาง ซึ่งเกิดจากดาวฤกษ์หลายหมื่นล้านดวงมารวมกัน พาดผ่านท้องฟ้าโดยรอบ ขนาดกว้างประมาณ 15๐ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

กาแล็กซีทางช้างเผือก (The Milky Way Galaxy) - ประกอบด้วยดาวฤกษ์ 2 แสนล้านดวง - ระหว่างดาวฤกษ์เป็นอวกาศและ เนบิวลา ครู ศรีไพร แตงอ่อน

กาแล็กซีทางช้างเผือก (The Milky Way Galaxy) - มองด้านข้างเห็นเป็นรูปจานข้าว 2 จานประกบกัน - มองด้านบนเห็นเป็นกังหันหรือ สไปรัล Sb ครู ศรีไพร แตงอ่อน

กาแล็กซีทางช้างเผือก ครู ศรีไพร แตงอ่อน

กาแล็กซีทางช้างเผือก (The Milky Way Galaxy) - มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 100,000 ปีแสง - มีความหนา 1,000 ปีแสง ครู ศรีไพร แตงอ่อน

กาแล็กซีทางช้างเผือก (The Milky Way Galaxy) - มวลรวมประมาณ 750,000-1,000,000เท่าของมวลดวงอาทิตย์ - ดวงอาทิตย์อยู่ที่แขนห่างจุดศูนย์กลาง 30,000 ปีแสง เคลื่อนที่ 200 ล้านปี/รอบ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

กาแล็กซี ทางช้างเผือก ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ครู ศรีไพร แตงอ่อน

กาแล็กซีแบบไร้รูปทรง ฯลฯ กาแล็กซีรูปแบบต่างๆ กาแล็กซีแบบกังหัน กาแล็กซีแบบหันบาร์ กาแล็กซีแบบทรงรี และ กาแล็กซีแบบไร้รูปทรง ฯลฯ ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ครู ศรีไพร แตงอ่อน

ครู ศรีไพร แตงอ่อน

แอนโดรมีดา ครู ศรีไพร แตงอ่อน

www.darasart.com/spacial_story/ universe-shape/main.html www.nfe.go.th/waghor/exhibition/ exhi3_3.html ครู ศรีไพร แตงอ่อน