คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การลบ.
Advertisements

การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าการกระจาย ค่ามาตรฐาน
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
สถิติพื้นฐานที่มีโอกาสนำไปใช้บ่อย
Training Management Trainee
แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ (o – net) ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนสรวงสุทธาวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต.
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Graphical Methods for Describing Data
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
การทดสอบสมมติฐาน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
การแจกแจงปกติ.
การดำเนินการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET)
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
คะแนนและความหมายของคะแนน
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
(Descriptive Statistics)
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะศิลปศาสตร์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ครูปพิชญา คนยืน. สถิติ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 3 การ นำเสนอ ข้อมูล ในรูป ตาราง ตารางแสดง จำนวน ประชากรของ ประเทศไทย จากการสำ มะโนประชากร และ เคหะ ระหว่าง.
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ครูปพิชญา คนยืน. สถิติ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 7 ครูปพิชญา คนยืน จากฮิสโทแกรม แสดงค่าใช้จ่าย ต่อเดือนของ นักเรียน จงตอบคำถาม ต่อไปนี้
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) ค่าเฉลี่ ย 1. ผู้เรียนชอบทำงานร่วมกับเพื่อ เมื่อเรียนวิชาระบบเครือข่าย.
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันนวัตกรรม การเรียนรู้ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
ผู้วิจัย นางวรรณา อนะมาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
ครูปพิชญา คนยืน. สถิติ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 7 ครูปพิชญา คนยืน จงสร้างตารางแจก แจงความถี่ของ ข้อมูลต่อไปนี้ โดย กำหนดให้มี 5 ชั้น และหาขอบล่าง, ขอบบน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สถิติ

คือ ความแตกต่างระหว่างค่าต่างๆของข้อมูล การกระจายของข้อมูล คือ ความแตกต่างระหว่างค่าต่างๆของข้อมูล

ส่วนเบี่ยงเบน(deviation) คือ ความแตกต่างของข้อมูลจากค่ากลาง

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานหาได้ดังนี้ 1. หาค่าเฉลี่ยเลขคณิต 2. หาส่วนเบี่ยงเบนหรือผลต่างแต่ละคะแนนกับค่าเฉลี่ยเลขคณิต โดยนำแต่ละคะแนนลบด้วยค่าเฉลี่ยเลขคณิต

3. หากำลังสองของส่วนเบี่ยงเบน แต่ละค่าที่ได้ในข้อ 2 4. หาผลรวมทั้งหมดของข้อ 3 แล้วนำไปหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต

5.หารากที่สองที่เป็นบวกของค่าเฉลี่ยเลขคณิตที่ได้จากข้อ 4 (ผลลัพธ์ที่ได้ในข้อ 5 คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน)

คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนกลุ่ม B จำนวน 10 คน 8 16 27 33 34 36 38 38 50 60

เส้นโค้งปกติ

ฮิสโทแกรม จำนวนนักเรียน 80 60 40 ค่าใช้ จ่าย 20 200 250 300 350 400 200 250 300 350 400 450 40 60 ฮิสโทแกรม

รูปหลายเหลี่ยม ของความถี่ รูปหลายเหลี่ยม ของความถี่ เส้นโค้ง ของความถี่ ค่าใช้ จ่าย 20 80 จำนวนนักเรียน 200 250 300 350 400 450 40 60 500 150

เส้นโค้งเบ้ลาดทางซ้ายหรือทางลบ ข้อมูลสูงเกาะกลุ่มกัน

เส้นโค้งเบ้ลาดทางขวาหรือทางบวก ข้อมูลต่ำเกาะกลุ่มกัน

เส้นโค้งปกติหรือรูประฆัง ข้อมูลมีการกระจายน้อย ข้อมูลที่มีการแจกแจงปกติ จะมีค่ากลางเป็นค่าเดียวกัน ข้อมูลมีการกระจายมาก

ความคลาดเคลื่อน ในการใช้สถิติ ความคลาดเคลื่อน ในการใช้สถิติ

นำเสนอผิดจากความเป็นจริง ทำให้เกิดการเข้าใจผิด อาจเกิดขึ้นได้ในทุกขั้นตอนของ การดำเนินการทางสถิติ เริ่มตั้งแต่ การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การแปลความหมาย นำเสนอผิดจากความเป็นจริง ทำให้เกิดการเข้าใจผิด ใช้สถิติที่ไม่เหมาะสมกับข้อมูล อ่านข้อมูลที่นำเสนอผิดพลาด ตีความเกินความจริง ความลำเอียง บันทึกข้อมูลผิดพลาด

ข้อมูลชุดหนึ่งมี 6 จำนวน แต่หายไปจำนวนหนึ่ง คงเหลือเพียง 28, 29, 28, 32, 28 ถ้าทราบว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้คือ 30 ข้อมูลที่หายไปคือจำนวนใด

เลข 3 จำนวน ถ้าค่ามัธยฐานเป็น 10 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็น 9 จำนวนที่มีค่ามากเป็น 12 แล้วจำนวน ที่มีค่าน้อยคือจำนวนใด

คนกลุ่มหนึ่งเป็นชาย 6 คน หญิง 4 คน ถ้าผู้ชายทุกคนอายุเท่ากันหมด คือ 30 ปี ผู้หญิงทุกคนอายุเท่ากันหมด คือ 25 ปี จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคนทั้งสิบ ว่าเป็นเท่าใด

จากการสำราจอายุของเด็ก 40 คน ปรากฏว่าอายุ 15 ปี มี 5 คน อายุ 16 ปี มี 10 คน อายุ 17 ปี มี 15 คน และอายุ 18 ปี มี 10 คน จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของอายุนักเรียนกลุ่มนี้

พบกันใหม่วันพรุ่งนี้ เรื่อง สถิติ (ต่อ)